Previous Page  270 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 270 / 326 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

269

ประเพณี

ดั

งกล่

าว นอกจากเป็

นการรวบรวมจากเอกสารที่

มี

ผู้

ศึ

กษาไว้

แต่

เดิ

มแล้

วยั

ใช้

การสั

มภาษณ์

สั

งเกต และดูการปฏิ

บั

ติ

จริ

งด้

วย แต่

ข้

อมูลทั้

งหมดเป็

นเชิ

งรวบรวม

ปรากฏการณ์ทางสั

งคมที่

มิ

ได้วิ

เคราะห์ความหมายเชิ

งสั

งคมแต่ประการใด

นอกเหนื

อจากงานศึ

กษาค้

นคว้

าเกี่

ยวกั

บความเชื่

อที่

กล่

าวมาแล้

ว ยั

งมี

การศึ

กษาค้

นคว้

าที่

เน้

นเฉพาะกลุ

มใดกลุ

มหนึ่งอี

กมากมาย ความเชื่

อเกี่

ยวกั

อาชี

พประมง เป็

นงานที่

เน้

นศึ

กษาเฉพาะกลุ

มชาวบ้

านบริ

เวณที่ราบลุ

มทะเลสาบ

สงขลา (พิทยา บุษรารัตน์, 2541) งานชิ้นนี้ เสนอความเชื่ออันเป็นสิ่งที่มีอ�

ำนาจ

เหนื

อมนุ

ษย์

ว่

าได้

วิ

วั

ฒนาการมาตามล�ำดั

บ จากความเชื่

อเกี่

ยวกั

บธรรมชาติ

ผี

สาง เทวดา วิ

ญญาณบรรพบุ

รุ

ษ และเทพเจ้า ความเชื่

อดั

งกล่าวสื

บทอดเป็นมรดก

สั

งคม มี

บทบาทในการก�

ำหนดชี

วิ

ตของแต่ละกลุ่มชน ในส่วนของชาวบ้านบริ

เวณ

ลุ่มทะเลสาบสงขลา มีความเชื่อเกี่ยวกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์และวิญญาณ คือ เชื่อเกี่ยว

กั

บแม่ย่านาง ผี

พราย เจ้าวั

ง นางเงื

อก พรายอากาศ และพระแม่คงคา ความเชื่

เกี่

ยวกั

บไสยศาสตร์

ได้

แก่

เชื่

อเรื่

องเวทมนต์

คาถา ความเชื่

อเรื่

องโหราศาสตร์

ได้

แก่

เชื่

อเรื่

องฤกษ์

ยาม ปรากฏการณ์

ตามธรรมชาติ

และนิ

มิ

ตหรื

อลางบอกเหตุ

ที่

ชาว

บ้านสังเกตจากธรรมชาติ โดยที่ชาวบ้านเห็นว่า ความเชื่อดังกล่าวมิใช่เรื่องเหลว

ไหลไร้

สาระ แต่

มี

เจตนาแอบแฝงสิ่

งที่

มี

คุ

ณูปการอั

นหนุ

นน�

ำให้

ชาวบ้

านด�ำรงชี

วิ

อยู่อย่างปกติ

สุ

ข และที่

ส�

ำคั

ญ คื

อ ช่วยให้ชาวบ้านเกิ

ดแนวคิ

ดในการใช้ประโยชน์

จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่าและยั่งยืน ส�

ำหรับผลงานศึกษาวิจัยเรื่องการ

ศึ

กษาทางมานุ

ษยวิ

ทยาวั

ฒนธรรม : กรณี

ศึ

กษาประเพณี

แต่งงานกั

บนางไม้ในเขต

อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา (บุญเลิศ จันทะระ, 2544) ซึ่งศึกษารูปแบบความ

เชื่อ ความหมาย และสั

ญลักษณ์

ของประเพณี

นี้

รวมทั้งศึกษาปั

จจั

ยและเงื่

อนไข

ในการประกอบพิธีกรรม ตลอดจนถึงความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบพิธีกรรมดัง

กล่าว ด้วยการศึ

กษาเอกสาร เก็

บข้อมูลภาคสนาม สาระส�

ำคั

ญของงานชิ้

นนี้

พบ

ว่า รูปแบบของประเพณีพิธีกรรมแต่งงานกับนางไม้คล้ายคลึงกับการแต่งงานของ

คู่บ่าวสาวทั่วไป แต่แตกต่างที่วัตถุประสงค์และความหมาย คือสะท้อนความเชื่อ

อั

นเกิ

ดจากการนั

บถื

อตายายซึ่

งน�

ำมาสู่

การเซ่

นสรวงบวงพลี

แก่

วิ

ญญาณบรรพบุ

รุ