268
สืบโยดสาวย่าน
งานศึ
กษาค้นคว้าเกี่
ยวกั
บประเพณี
ต่างๆ ของภาคใต้ที่
โดดเด่นซึ่
งมี
ผู้ศึ
กษา
ไว้
มากนอกจากการบูชา พระบรมธาตุ
เจดี
ย์
นครศรี
ธรรมราชแล้
วยั
งมี
การศึ
กษา
เกี่
ยวกั
บพิ
ธี
ตรุ
ษเมื
องนคร ประเพณีท�
ำบุ
ญเดื
อนสิ
บ ประเพณีชิ
งเปรต เป็
นต้
น
ผลงานการศึ
กษาการบูชาพระบรมธาตุ
เจดี
ย์นครศรี
ธรรมราชที่
ปฏิ
บั
ติ
สื
บมาแต่เดิ
ม
(สุ
ธิ
วงศ์
พงศ์
ไพบูลย์
, 2542) พบว่
า เนื่
องจากพระบรมธาตุ
เจดี
ย์
นครศรี
ธรรมราช คื
อ
สั
ญลั
กษณ์
อั
นเป็
นศูนย์
กลางของพระพุ
ทธศาสนาที่
ส�
ำคั
ญของภาคใต้
มาแต่
โบราณ
จึ
งมี
พุ
ทธศาสนิ
กชนให้
ความเคารพในฐานะเป็
นสิ่
งศั
กดิ์
สิ
ทธิ์
ที่
นอกจากเป็
นการ
กระท�
ำเพื่
อสื
บต่
อพระพุ
ทธศาสนาแล้
วยั
งถื
อเป็
นบุ
ญกุ
ศลอั
นสูงสุ
ดแก่
ผู้
ปฏิ
บั
ติ
อี
กทั้
ง
ส่งผลให้ ผู้ปฏิ
บั
ติ
เกิ
ดความเจริ
ญรุ่งเรื
องในชี
วิ
ตพบกั
บความสุ
ขสวั
สดี
ปราศจากสิ่
ง
ชั่
วร้
ายอี
กด้
วย ในการบูชาพระบรมธาตุ
นอกจากกระท�
ำการสั
กการบูชาด้
วยธูปเที
ยน
ดอกไม้ แล้วยังมีการแห่ผ้าห่มพระธาตุ มีการถวายของ เช่น เงินทอง แก้วแหวน
ดอกไม้
เงิ
นดอกไม้
ทอง เป็
นต้
น ส่
วนการศึ
กษาเกี่
ยวกั
บพิ
ธี
ตรุ
ษเมื
องนคร (วิ
เชี
ยร
ณ นคร, 2542) พบว่า เมื
องนครสื
บต่อประเพณี
นี้
มาแต่โบราณ เป็นการกระท�ำเพื่
อ
แสดงความยิ
นดี
ที่
ได้ผ่านพ้นอุ
ปสรรคต่างๆ มาได้ในรอบปี ประเพณี
ดั
งกล่าวเมื
อง
นครศรี
ธรรมราชรั
บมาจากลังกา มี
ขั้
นตอนปฏิ
บั
ติ
ที่
ท�
ำกั
น คื
อ การท�ำบุ
ญเลี้
ยงพระ
และมี
การละเล่น มี
การแสดงต่างๆ เพื่
อความบั
นเทิ
ง เป็นประเพณี
ประจ�
ำเดื
อน 4
แต่ภายหลังได้ปรั
บเปลี่
ยนมาเป็นประเพณีสงกรานต์
ท�
ำให้ประเพณี
พิ
ธี
ตรุ
ษแต่เดิ
ม
เลื
อนหายไป ส�
ำหรั
บงานศึ
กษาเรื่
องประเพณี
ท�
ำบุ
ญ เดื
อนสิ
บ (พั
ชรี
ย์
ฆั
งคมณี
,
2537) ข้อมูลจากการศึ
กษา พบว่า เป็นประเพณี
ที่
มี
ผู้ศึ
กษาค้นคว้าไว้มากที่
สุ
ดกว่า
ประเพณีอื่
นๆ ชาวภาคใต้
ที่
เป็
นพุทธศาสนิ
กชนให้
ความส�
ำคั
ญต่
อประเพณี
นี้มาก
สื
บทอดและวิ
วั
ฒนาการมาจากประเพณี
เปตพลี
ของศาสนาพราหมณ์
ในประเทศ
อิ
นเดี
ย น่
าจะมี
การปฏิ
บั
ติ
ที่
นครศรี
ธรรมราชเป็
นครั้
งแรก ในประเทศไทย เพราะ
เป็นเมื
องศูนย์กลางของศาสนาพุ
ทธและศาสนาพราหมณ์ ประเพณี
นี้
ชาวบ้านและ
วั
ดเตรี
ยมการและปฏิ
บั
ติ
กั
น 3 วั
น มี
ขั้
นตอนปฏิ
บั
ติ
ที่
เป็นลั
กษณะเฉพาะ นอกจาก
จั
ดหฺ
มฺ
รั
บ แห่หฺ
มฺ
รั
บ ถวายภั
ตตาอาหาร ฉลองหฺ
มฺ
รั
บแล้วยั
งตั้
งเปรต ชิ
งเปรต และ
บั
งสุ
กุ
ล เป็นประเพณี
ที่
แสดงถึ
งความเชื่
อเรื่
องวิ
ญญาณ กรรม กฎแห่งกรรม ชาติ
ภพ ผลทาน และอานิ
สงส์
ของความกตั
ญญูอี
กด้
วย ในการศึ
กษาค้
นคว้
าวั
ฒนธรรม