งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้
183
ในชุ
มชนเกาะลั
นตาซึ่
งนั
บว่
ามี
ปฏิ
สั
มพั
นธ์
ที่
ดี
ระหว่
างชาวเลกั
บกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
อื่นๆ ที่อาศั
ยอยู่ร่วมกันเนื่องจากเคยพึ่งพาอาศัย เคยทุ
กข์ยากมาด้
วยกัน ก็ยังมี
ค�ำพูดที่แสดงถึงสถานภาพที่แตกต่างกัน เช่น คนจีนมักค่อนขอดลูกสาวที่ขี้เกียจ
ท�
ำงานว่า “อยากสบายก็
ไปเป็นลูกสาวชาวเลสิ
” หรื
อมั
กเปรี
ยบเปรยคนที่
ท�
ำอะไร
แปลกๆ หรือแต่งกายไม่ทันสมัยว่า “มาจากสังกะอู้” (อาภรณ์ อุกฤษณ์ : 2532)
โดยเฉพาะช่วงที่
เกาะลั
นตากลายเป็นแหล่งท่องเที่
ยวที่
ส�
ำคั
ญ ก็
มี
เสี
ยงสะท้อนจาก
นั
กมานุ
ษยวิ
ทยาชาวต่
างชาติ
ที่
เข้
ามาศึ
กษาว่
า เนื่
องจากชาวเลไม่
มี
ความรู้
เป็
น
ได้แค่แรงงานชั้
นต�่
ำ คนไทยจึ
งมองว่า ยากจน โง่ เป็นไทยใหม่ เป็นประชากรแถว
ล่างสุ
ด พวกเขาอยากท�
ำตั
วให้กลมกลื
นกั
บวั
ฒนธรรมไทยเพราะเชื่
อว่าจะมี
โอกาส
ดี
กว่
า เช่
นนั
บถื
อศาสนาพุ
ทธแต่
ไม่
เคยเข้
าถึ
งประเพณี
ชาวพุ
ทธ และยั
งคงนั
บถื
อ
บรรพบุรุษ ดูเหมือนว่าพวกเขาไม่อยากเป็นชาวเล แต่แท้ที่จริงแล้วพวกเขาไม่เคย
ลั
งเลที่
จะบอกว่าเขาคื
อ ชาวเล (Granbom : 2005) ชาวเลทุ
กกลุ่มไม่ว่าจะเป็นมอ
แกน มอแกลนหรื
ออูรั
กลาโว้
ยล้
วนแล้
วแต่
มี
ประสบการณ์
การถูกกี
ดกั
น ดูถูก ดูแคลน
ท�ำให้รู้สึกแปลกแยกมาแล้วมากน้อยขึ้นอยู่กับกลุ่มในท้องถิ่นที่เขาปฏิสัมพันธ์หรือ
เกี่
ยวข้
องด้
วย ประสบการเหล่
านี้
ท�
ำให้
พวกเขาไม่
เห็
นความส�
ำคั
ญในการสืบทอด
ภาษา ประเพณี
ศิ
ลปะ ดนตรี
การละเล่
น ฯลฯ และยิ่
งกว่
านั้
นอยากจะลื
มสิ่
งเหล่
านี้
เพื่
อให้
กลายเป็
น “ไทย” ให้
ทั
ดเที
ยมกั
บคนส่
วนใหญ่
ดั
งนั้
นชาวเลส่
วนหนึ่
งจึ
งภูมิ
ใจ
กั
บชื่
อ “ไทยใหม่” ที่
ได้รั
บและบางรายเปลี่
ยนนามสกุ
ลเพื่
อที่
คนนอกจะได้ไม่ทราบ
ว่าเป็นชาวเล (นฤมล อรุ
โณทั
ย (หิ
ญชี
ระนั
นท์) : 2546)