Previous Page  189 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 189 / 326 Next Page
Page Background

188

สืบโยดสาวย่าน

ซึ่งนั

กภาษาศาสตร์

ท่านหนึ่

งได้

สนับสนุ

นข้

อโต้

แย้งดังกล่าวโดยพิจารณาจากศัพท์

เครื

อญาติ

เป็นหลั

ก เพราะศั

พท์เครื

อญาติ

จะใช้เรี

ยกสื

บทอดต่อๆ กั

นมา และหาก

พิจารณาศัพท์เครือญาติของชาวเลทั้งสองกลุ่มแตกต่างกันมาก อย่างไรก็ตามแม้

ต�

ำนานดั

งกล่

าวจะเป็

นจริ

งไปไม่

ได้

แต่

ปั

จจุ

บั

นพบหลั

กฐานว่

าชาวเลมอแกนบก หรื

มอแกลน ได้ยื

มค�

ำเรี

ยกญาติ

ในภาษาไทยไปใช้แทนภาษามอแกลนแล้ว

อี

กประเด็นหนึ่

ง มี

การน�ำเสนอข้อมูลผิ

ดพลาด คือการเรียกชื่อ การร่ายร�

ในพิ

ธี

ลอยเรื

อของชาวเลอูรั

กลาโว้ยว่า “รองแง็

ง” ซึ่

งที่

ถูกต้องคื

อ “ร�

ำมะนา” รวม

ทั้งมีการน�ำบทเพลง “ร�ำมะนา” มากล่าวอ้างว่าเป็นบทเพลงรองแง็ง ซึ่งแท้ที่จริง

แล้วแตกต่างกั

นโดยสิ้

นเชิ

มี

ข้อค้นพบที่

น่าสนใจเกี่

ยวกั

บความสั

มพั

นธ์

ระหว่

างกลุ

มชาติ

พั

นธุ

มอแกน และ

มอแกลนว่

าในอดี

ตน่

าจะเป็

นกลุ

มเดี

ยวกั

น การแบ่

งเผ่

าพั

นธุ

ระหว่

างทั้

ง 2 กลุ

ม อาจจะเกิ

ขึ้

นหลั

งจากที่

มอแกลนตกเป็

นทาส ตามที่

ปรากฏในต�

ำนานผู้

เฒ่

าสามพั

น วิ

วั

ฒนาการด้

าน

ภาษาจากการที่

ชาวมอแกลนมี

การเติ

ม หน่

วยเสี

ยง /L/ เข้

าไปในชื่

อเผ่

าตน (มอแกลน) ท�

ำให้

ตั

ดขาดจากความเป็

นชนเผ่

าเดี

ยวกั

น ดั

งนั้

น“มอแกลน” จึ

งน่

าจะเป็

น “มอแกน” ที่

มาตั้

ถิ่

นฐานเป็

นหลั

กแหล่

ง เพราะเรื

อยั

งคงเป็

นสั

ญลั

กษณ์

ของมอแกลน และจากค�

ำบอกเล่

บรรพบุ

รุ

ษของพวกเขาเดิ

นทางมากั

บเรื

อ วั

นประกอบพิ

ธี

ใหญ่

ของมอแกลนก็

ยั

งคงยึ

ดถื

ปฏิ

ทิ

นทางจั

นทรคติ

ของมอแกน และทั้

งสองกลุ

มน่

าจะแยกจากกั

นอย่

างน้

อยประมาณ 150

ปี

มาแล้

ว (โอลิ

เวี

ยร์

แฟร์

รี

และคณะ : 2549) แนวคิ

ดนี้

ยั

งสอดคล้

องกั

บค�

ำบอกเล่

าของชาว

มอแกนที่

เป็

นญาติ

กั

บมอแกลนว่

า พวกเขาเป็

นชาวมอแกน ที่

หมายถึ

ง “คนน�้

ำเค็

ม” ด้

วย

กั

น เป็

นญาติ

พี่

น้

องกั

น โดยเรี

ยกมอแกนที่

อาศั

ยบนบกว่

า “มอเก็

นตามั

บ” และเรี

ยกมอ

แกนที่

อาศั

ยบนเกาะว่

า “มอเก็

นปูเลา” ภาษาที่

ใช้

ก็

เป็

นภาษาเดี

ยวกั

น ภาษามอแกนเกาะ

เปรี

ยบได้

กั

บภาษากลาง สามารถใช้

ติ

ดต่

อกั

บมอแกนในพม่

าได้

ส่

วนภาษามอแกนบกเป็

ภาษาถิ่

น ทุ

กวั

นนี้

มอแกนบกมี

บ้

านอยู่

มี

ฐานะดี

กว่

า ไม่

ได้

ไปมาหาสู่

กั

นจึ

งไม่

ได้

นั

บญาติ

กั

จากการประมวลผลงานกลุ่

มชาติ

พั

นธุ์

ชาวเลที่

น�ำมาศึ

กษาพบว่

ามี

อี

กหลาย

ประเด็

นที่

ยั

งไม่

มี

การศึ

กษาโดยตรง แต่

ปรากฏในผลงานเรื่

องอื่

นๆ เช่

น ประเด็

นการศึ

กษา

ประวั

ติ

ศาสตร์

ท้

องถิ่

น การอพยพโยกย้

ายและการตั้

งถิ่

นฐาน แหล่

งที่

พั

กอาศั

ย และจ�

ำนวน