182
สืบโยดสาวย่าน
(มอแกน) ซึ่
งยั
งคงอาศั
ยเรื
อเร่ร่อนตามฤดูกาล บริ
เวณหมู่เกาะต่างๆ ในเขตรอยต่อ
พม่าและไทย อาศั
ยเพิ
งพั
กชั่
วคราว ไม่มี
การสร้างบ้านเรื
อนถาวร ทางรั
ฐบาลไทย
ยั
งไม่
สามารถออกบั
ตรประชาชนและทะเบี
ยนบ้
านให้
ได้
เช่
นเดี
ยวกั
บซาไก อย่
างไร
ก็
ตาม แม้
กลุ่
มที่
ได้
รั
บรองสิ
ทธิ
ตามกฎหมายแล้
วส่
วนใหญ่
ก็
ยั
งคงมี
ปั
ญหาเรื่
องสิ
ทธิ
ในที่
ดิ
นอยู่
อาศั
ยและท�
ำกิ
น เนื่
องจากด้
อยการศึ
กษา ขาดความรู้
ด้
านกฎหมาย และ
ไม่มี
พลั
งต่อสู้เรี
ยกร้องสิ
ทธิ
ที่
ควรจะได้
ด้วยกลุ่มชาติ
พั
นธุ์ชาวเล เป็นชนกลุ่มเล็
กๆ ที่
มี
โลกทั
ศน์และวิ
ถี
คิ
ดแตกต่าง
จากคนเมื
องทั่วไป เมื่อจ�ำเป็นต้องมี
ปฏิสัมพั
นธ์กั
บผู้คนต่างชาติ
พันธุ์ที่แตกต่างกัน
มาก จึ
งจ�
ำเป็นต้องปรั
บตัวให้อยู่รอดท่ามกลางมายาคติ
การกี
ดกั
น และการเลื
อก
ปฏิบัติทางชาติพันธุ์เช่นเดียวกับซาไก ดังเช่นที่ปรากฏในผลงานบางเรื่องซึ่งพูดถึง
ประเด็นการใช้ค�
ำเรียก “ชาวเล” เป็นค�
ำรวมส�ำหรับเรียก มอแกน (มอแกนเกาะ)
มอแกลน (มอแกนบก) และอูรั
กโว้
ย ท�
ำให้
ความรู้
ความเข้
าใจเกี่
ยวกั
บกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
คลุ
มเครื
อ ส่
งผลให้
คนเข้
าใจว่
าชาวเล ทุ
กกลุ
่
มมี
ลั
กษณะสั
งคมและวั
ฒนธรรมที่
เหมื
อนกั
น และมองข้ามความหลากหลายทางสั
งคมและวั
ฒนธรรม หรื
อมองแบบ
เหมารวมกั
น นอกจากนั้
น ยั
งเกิ
ดปัญหาจากความเข้าใจที่
สั
บสน อคติ
และมายา
คติ
เกี่
ยวกั
บความหมายของค�
ำว่
า “ชาวเล” ซึ่
งมี
หลายความหมายโดยเฉพาะกลุ่
ม
มอแกน เช่น ผู้ที่
อาศั
ยอยู่ริ
มทะเล และประกอบอาชี
พประมง กลุ่มชาติ
พั
นธุ์เฉพาะ
บริ
เวณชายฝั่
งทะเลและเกาะ แถบหมู่
เกาะอั
นดามั
น เป็
นค�ำด่
าเปรี
ยบเปรยกั
บกลุ่
ม
ชาติ
พั
นธุ์
ที่
ถูกมองว่
าเป็
นคนที่
สกปรก ไม่
ชอบเรี
ยนหนั
งสื
อ หาสตางค์
ได้
เท่
าไหร่
ก็
จั
บ
จ่ายไม่เก็บหอมรอมริบหมด การมองชาวเลว่า ล้าหลัง ต�่ำต้อยเป็นวาทกรรมทาง
สั
งคมซึ่
งถูกสร้
างขึ้
นจนกระทั่
งครอบง�
ำคนในสั
งคมใหญ่
ซึ่
งการมองเช่
นนี้
นั
บเป็
นอคติ
ทางชาติ
พั
นธุ์
ที่
มุ่
งเน้
นที่
ข้
อเสี
ยหรื
อลั
กษณะนิ
สั
ยด้
านลบ เป็
นการสร้
างภาพลั
กษณ์
ที่
หยุ
ดนิ่
งและมองด้านเดี
ยวทั้
งๆ ที่
สิ่
งดี
ๆ เกี่
ยวกั
บชาวเลมี
มากมายแต่สิ่
งเหล่านั้
นถูก
ละเลยไม่
น�
ำมากล่
าวอ้
าง ชาวเลส่
วนใหญ่
จึ
งยอมรั
บชื่
อ “ไทยใหม่
” ซึ่
งเป็
นวาทกรรม
เพื่
อตอบโต้
ภาพลั
กษณ์
เชิ
งลบที่
สั
งคมใหญ่
สร้
างขึ้
นและตอกย�้
ำตลอดเวลาที่
ผ่
านมา
(นฤมล อรุ
โณทั
ย (หิ
ญชี
ระนั
นท์) : 2546)