งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้
185
เล่าปรากฏการณ์ที่
ได้ไปพบเห็
นในช่วงระยะเวลาสั้
นๆ ผนวกกั
บข้อมูลที่
ได้จากการ
ค้
นคว้
าเอกสาร งานวิ
จั
ย และบทความสารคดี
ที่
มี
ผู้
ศึ
กษาไว้
ก่
อนแล้
วเพื่
อให้
งานเขี
ยน
เหล่
านั้
นสมบูรณ์
มากขึ้
น เนื้
อหาจึ
งซ�้
ำซ้
อน วนเวี
ยน ข้
อมูลบางอย่
างไม่
เป็
นปั
จจุ
บั
น
ผลงานบางเรื่
องไม่
ได้
ศึ
กษาภาคสนามอย่
างแท้
จริ
ง หยิ
บยกข้
อมูลจากกลุ
่
มอื่
นมาปะ
ติ
ดปะต่อเพื่
อใช้อธิ
บายกลุ่มที่
ท�
ำการศึ
กษาโดยไม่ตรวจสอบข้อมูล ข้อมูลที่
ได้จึ
งไม่
ตรงกับความเป็นจริ
งในชุ
มชนที่
ศึ
กษา และบางช่วงตอนไม่อ้างอิ
งเจ้าของผลงาน
ผลงานบางเรื่
องน�
ำเสนอด้
วยมุ
มมองของตนเอง (emic) หรื
อจากทั
ศนะ
ของคนนอก (outsider) ภาษาที่ใช้
ในการพรรณนาสิ่งที่พบเห็นจึงเป็
นการแสดงถึง
ทั
ศนะและความรู้
สึ
กส่
วนตั
ว มากกว่
าต้
องการท�
ำความเข้
าใจถึ
งความแตกต่
าง
ของมนุ
ษย์ เช่น กล่าวถึ
งสภาพของซาไกที่
พบเห็
นว่า “เนื้
อตั
วสกปรกมอมแมมน่า
เวทนา” “เสื้
อผ้
ามั
นด�
ำด่
างขมุ
กขมั
ว” “เห็
นแล้
วถึ
งกั
บอึ้
ง พูดไม่ออกไปชั่
วขณะหนึ่
ง
ด้วย ความเวทนา” หรื
อคนภายนอกมองว่าพวกเขาเป็น “คนโง่” หรื
อ “ลั
กษณะ
นิ
สั
ยเป็นคนขี้
เกี
ยจ”
มี
ข้
อโต้
แย้
งของนั
กภาษาศาสตร์
เกี่
ยวกั
บการแบ่
งกลุ
่
มซาไก ที่
ว่
ากลุ
่
มที่
อาศั
ย
อยู่
ในอ�
ำเภอ ปะเหลี
ยน จั
งหวั
ดพั
ทลุ
ง สตูล ตรั
ง เป็
นกลุ่
มภาษาแต็
นแอ็
น (teanean)
และกลุ่
มที่
อาศั
ยในต�
ำบลธารโต จั
งหวั
ดยะลา เป็
นกลุ่
มภาษากั
นซิ
ว แท้
ที่
จริ
งแล้
วทั้
ง
2 กลุ่ม เป็นกลุ่มภาษาเดี
ยวกั
น คื
อภาษากั
นซิ
ว เนื่
องจากมี
รากศั
พท์เดี
ยวกั
น หรื
อ
เป็
นค�
ำเดี
ยวกั
น ที่
แตกต่
างกั
นเพราะการรั
บวั
ฒนธรรมทางภาษาจากท้
องถิ่
นใกล้
เคี
ยง
หรื
อเป็นภาษาที่
ใช้ต่างถิ่
นต่างพื้
นที่
จากการประมวลผลงานกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ซาไกที่
น�
ำมาศึ
กษาพบว่
ามี
อี
ก
หลายประเด็นที่ยังไม่มีการศึกษาโดยตรงแต่ปรากฏในผลงานเรื่องอื่นๆ เช่น ด้าน
ประวั
ติ
ศาสตร์ท้องถิ่
น เส้นทางการอพยพโยกย้าย นิ
ทาน ต�
ำนาน ประเพณี
ความ
เชื่
อ พิ
ธี
กรรม นั
นทนาการ ครอบครั
ว เครื
อญาติ
การจั
ดระเบี
ยบสั
งคม ระบบ
เศรษฐกิ
จ การจั
ดการทรัพยากร และประเด็
นเกี่
ยวกั
บลั
กษณะชาติ
พั
นธุ์ อั
ตลั
กษณ์
และการธ�
ำรงอั
ตลั
กษณ์ทางชาติ
พั
นธุ์