178
สืบโยดสาวย่าน
ความสั
มพั
นธ์
และการจ�ำแนกความแตกต่
างระหว่
างกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ชาวเลมอ
แกนเกาะ มอแกนบก และเลอูรั
กลาโว้
ย ที่
ปรากฏในผลงานบางเรื่
องจะสั
มพั
นธ์
กั
บต�
ำนานเรื่
องเล่า ภาษาและวั
ฒนธรรม เช่น ผลงานที่
กล่าวถึ
งต�
ำนานที่
แสดงถึ
ง
ความสั
มพั
นธ์
ระหว่
างชาวเลมอแกน และอูรั
กลาโว้
ยว่
าเคยมี
บรรพบุ
รุ
ษร่
วมกั
น โดย
มอแกนเป็นต้นก�ำเนิ
ดของเผ่าพันธุ์ เนื่องจากมอแกนบางกลุ่มถูกชาวมาเลย์จับตัว
ไป และไปแต่งงานกั
บชาวมาเลย์ ชาวจี
น และนิ
กริ
โต กลายเป็นออรั
งลาอุ
ต หรื
อ
ออรังลอนตา (ชื่อเรียกชาวเลอูรักลาโว้ย ที่อาศัยบริเวณเกาะลันตา, ผู้วิจัย) (Ber-
nazik : 1958) แต่ David Hogen (1972) แย้งว่าแม้จะมี
การแต่งงานข้ามกลุ่มกั
นแต่
ภาษาและวัฒนธรรมของชาวเลอูรักลาโว้ยแตกต่างไปจากมอแกนมากจึงไม่น่าจะ
เป็นไปได้ อี
กทั้
งนั
กภาษาศาสตร์ท่านหนึ่
ง (อมร แสงมณี) ยั
งแสดงทั
ศนะว่าเป็นไป
ไม่ได้กั
บแนวคิ
ดที่
ว่า ทั้
ง 2 กลุ่มเคยมี
บรรพบุ
รุ
ษร่วมกั
น แล้วแยกย้ายกั
นตั้
งถิ่
นฐาน
ในสังคมที่แตกต่
างกันจึงรับเอาภาษาและวัฒนธรรมของชุมชนที่ตนอาศัยมาผสม
ผสานกั
บของตนจึ
งส่งผลให้ปัจจุ
บั
นมี
ความแตกต่างกั
นไป เนื่
องจากการศึ
กษาการ
เปลี่ยนแปลงทางด้านภาษาของกลุ่มชนนั้
น จะยึดศัพท์เครือญาติเป็นหลัก เพราะ
แม้
ว่
าศั
พท์
อื่
นๆ จะเปลี่
ยนไป แต่
ศั
พท์
เครื
อญาติ
จะใช้
เรี
ยกสื
บทอดต่
อๆ กั
นมา
และหากพิจารณาศัพท์เครือญาติของชาวเลทั้งสองกลุ่มแตกต่างกันมาก (อาภรณ์
อุ
กฤษณ์
: 2532) ในประเด็
นนี้
ปั
จจุ
บั
นพบหลั
กฐาน จากผลงานของ โอลิ
เวี
ยร์
แฟร์รี
และคณะ (2549) ว่าชาวเลมอแกนบก หรื
อมอแกลน ได้ยื
มค�
ำเรี
ยกญาติ
ใน
ภาษาไทยไปใช้แทนภาษา มอแกลนแล้ว
นอกจากนั้
นจากการใช้
ค�
ำศั
พท์
100 ค�
ำ จาก Swadesh word list เปรี
ยบเที
ยบ
ความสั
มพั
นธ์
ระหว่
าง ภาษาอูรั
กลาโว้
ย กั
บภาษามอแกนโดยลั
กษณะทาง
ภาษาศาสตร์แล้ว เป็นคนละภาษากันเนื่องจากมีค�ำร่วม ก�ำเนิ
ด (Cognate) เพียง
44.51-44.60 % เท่
านั้
น (Surat Makboon : 1981) แต่
หากเปรี
ยบเที
ยบถึ
งความ
สัมพันธ์
จากการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ภาษาอูรักลาโว้
ยใกล้
ชิดกับภาษามอแกน
เกาะ (มอแกน) มากกว่า ภาษามอแกนบก (มอแกลน) เนื่
องจากมี
วิ
ถี
ชี
วิ
ตที่
เร่ร่อน
หากิ
นในน่
านน�้
ำเดี
ยวกั
น แม้
ต่
างพื้
นที่แต่
ก็
มี
โอกาสพบปะ และแต่
งงานข้
ามกลุ่
ม