Previous Page  181 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 181 / 326 Next Page
Page Background

180

สืบโยดสาวย่าน

ศั

กยภาพในการพั

ฒนาของกลุ

มชาติ

พั

นธุ

ชาวเลแต่

ละกลุ

มจะแตกต่

างกั

ตามลักษณะแหล่งที่อยู่อาศัยเช่นเดียวกับกลุ่มชาติพันธุ์ซาไก กลุ่มที่อยู่ใกล้ชิดกับ

กลุ่มชาติพันธุ์ที่เจริญกว่าจะปรับตัวผสมผสานกับเพื่อนบ้านได้ดีกว่ากลุ่มที่อยู่โดด

เดี่

ยว ดั

งที่

ปรากฏว่

ากลุ

มชาติ

พั

นธุ

ชาวเลอูรั

กลาโว้

ยและมอแกนบก (มอแกลน)

มี

ศั

กยภาพในการพั

ฒนาตนเองได้ดี

กว่ากลุ่มชาติ

พั

นธุ์มอแกนเกาะ เนื่

องจากมี

การ

ติ

ดต่

อสั

มพั

นธ์

กั

บคนต่

างกลุ

มชาติ

พั

นธุ

และหน่

วยงานของรั

ฐมากกว่

า บางกลุ

มยั

งส่

บุ

ตรหลานเข้

าศึ

กษาในระบบโรงเรี

ยนของรั

ฐ ขณะที่

มอแกนเกาะที่

ปากจกประมาณ

200 คน และที่

เกาะสุ

ริ

นทร์ ยั

งเร่ร่อนเก็

บหาไม่ได้เป็นส่วนหนึ่

งของชาวปากจก ไม่มี

บั

ตรประชาชน และไม่มี

ที่

ดิ

นเป็นของตนเอง

อย่างไรก็ตาม แม้มอแกนบก (มอแกลน) จะมีศักยภาพในการพัฒนาและ

ปรับตัวเข้ากับผู้คนต่างกลุ่มชาติพันธุ์ได้ดีกว่ามอแกนเกาะ แต่มอแกนเกาะจะเอา

ตัวรอดได้ดีกว่า โดยเป็นนั

กเก็บหาและค้าขายแลกเปลี่ยนที่มีการปรับตัวอยู่เสมอ

(โอลิ

เวี

ยร์ แฟร์รี

และคณะ : 2549)

กลุ

มชาวเลอูรั

กลาโว้

ยมี

การแต่

งงานข้

ามกลุ

มชาติ

พั

นธุ

จ�

ำนวนมาก โดย

เฉพาะชาวเลอูรั

ก ลาโว้

ยบนเกาะลั

นตาในยุ

คแรกๆ แต่

งงานข้

ามกลุ

มชาติ

พั

นธุ

หลาย

คู่

บ้

างก็

แต่

งงานกั

บชาวจี

น แล้

วปรั

บเปลี่

ยนไปใช้

วิ

ถี

ชี

วิ

ตแบบจี

บ้

างก็

แต่

งงาน

กั

บชาวมุ

สลิ

ม หรื

อได้รั

บการชั

กน�

ำให้ปรั

บเปลี่

ยนไปนั

บถื

อศาสนาอิ

สลาม

เรี

ยกกั

ว่

“แขกชาวเล”

และมีการแต่

งงานกั

บชาวไทยพุ

ทธบ้

างไม่

มากนั

ก ซึ่

งลูกหลาน

รุ่นปัจจุบันส่วนใหญ่กลมกลืนไปกับกลุ่มชาติพันธุ์อื่น มีเพียงค�

ำบอกเล่าว่ามีญาติ

พี่

น้องเป็นชาวเล หรื

อแม่สั่

งเสี

ยไว้ว่าให้ไปท�

ำบุ

ญในพิ

ธี

ลอยเรื

การที่

ต้

องอยู่

รวมกั

บกลุ

มชาติ

พั

นธุ

อื่

นท�

ำให้

กลุ

มชาติ

พั

นธุ

ชาวเลต้

องปรั

เปลี่

ยนวิ

ถี

ชี

วิ

ตที่

แตกต่

างจากอดี

ตไปมาก โดยเฉพาะการปรั

บเปลี่

ยนครั้

งยิ่

งใหญ่

จาก

การอาศัยเรือเร่ร่อนหากินกลางทะเลมา ตั้งบ้านเรือนอยู่บนบกในช่วงระยะเวลาที่

ต่

างกั

น ในกลุ

มชาวเลมอแกนบก (มอแกลน) การอาศั

ยเรื

อเป็

นเพี

ยงเรื่

องเล่

า เนื่

องจาก

ปู่

ย่

าตายายของพวกเขา ขึ้

นมาอาศั

ยบนบกไม่

ต�่

ำกว่

า 3 ชั่

วอายุ

คนแล้

ว ส่

วนมอแกนเกาะ

ปั

จจุ

บั

นบางกลุ

มยั

งคงอาศั

ยเรื

อ “ก่

าบาง” เร่

ร่

อนหากิ

นในทะเล แต่

ขึ้

นมาตั้

งหลั

กแหล่