176
สืบโยดสาวย่าน
ถูกแดดมาก ผู้หญิ
งส่วนใหญ่ ผิ
วคล�้
ำ หน้าตาคมคาย ผมหยิ
ก หยั
กศก ในท�
ำนอง
เดี
ยวกั
น วิ
สิ
ฏฐ์ มะยะเฉี
ยว (2518) บรรยายถึ
ง อั
ตลั
กษณ์และวิ
ถี
ชี
วิ
ตของชาวเลอู
รั
กลาโว้ยว่ามี
ผิ
วด�
ำกร้าน ริ
มฝีปากค่อนข้างหนา จมูกค่อนข้างแบน ผู้ชายร่างกาย
ล�่
ำสั
น หน้
าอกกว้
าง ผู้
หญิ
งชอบไว้
ผมยาว เป็
นกลุ่
มชนที่
รั
กสงบ สนุ
กสนาน มี
ความ
สามั
คคี
มี
การติ
ดต่
อสั
มพั
นธ์
และแต่
งงานระหว่
างกลุ
่
ม เคารพผู้
อาวุ
โสอย่
างเคร่
งครั
ด
มี
ภาษาพูดเป็นของตนเอง ภาษาบางกลุ่มคล้ายมลายู อิ
นโดนี
เชี
ย มี
ค�
ำศั
พท์น้อย
มี
อาชี
พประมง เป็นครอบครั
วเดี่
ยว ผู้ชายหาเลี้
ยงครอบครั
ว ผู้หญิ
งเป็นแม่บ้าน ผู้
หญิงเป็นใหญ่ เชื่อเรื่องวิญญาณบรรพบุรุษ ประเพณีลอยเรือเป็นประเพณีประจ�ำ
ปีมี
การละเล่นรองแง็
ง (น่าจะเป็น “ร�ำมะนา” ผู้วิ
จั
ย)
ผลงานบางเรื่
องกล่าวถึ
งชาวเลมอแกลน (มอแกนบก) ว่า เป็นชนเผ่าเร่ร่อน
ทางทะเล ไม่
สะสมทรั
พย์
ไม่
เป็
นปฏิ
ปั
กษ์
ไม่
เปิ
ดเผยตั
ว รั
กสงบ อหิ
งสา มี
ความเสมอ
ภาคกัน (ข้อมูลน่าจะคลาดเคลื่อนไปบ้างเนื่องจากปัจจุบันแม้ชาวเลมอแกลนบาง
กลุ่มยั
งหากิ
นในทะเลแต่ตั้
งถิ่
นฐานบนบกแทบทั้
งสิ้
น, ผู้วิ
จั
ย) และกล่าวถึ
งมอแกน
(มอแกนเกาะ) ว่
ามี
เชื้
อสายโอรั
งละอุ
ตมาเลย์
หรื
อ “ชาวทะเล” แต่
คนไทยเรี
ยกพวกนี้
ว่
า
ชาวเกาะ หรื
อชาวทะเล ซึ่
งเป็
นค�
ำที่
สั
บสน เพราะค�
ำค�
ำนี้
เรี
ยกชาวมอแกลนเช่
นเดี
ยว
กั
น ชาวมอแกนไม่ได้รั
บการยอมรั
บจากทางการไทยและยั
งมี
สถานภาพก�
ำกวมอยู่
ต่
างจากชาว มอแกลนบนเกาะพระทองและในที่
อื่
นๆ ชาวมอแกนส่
วนใหญ่
อาศั
ยใน
พม่
า และรั
ฐบาลพม่
าออกบั
ตรประจ�
ำตั
วให้
แต่
รั
ฐบาลไทยไม่
ออกให้
รั
ฐบาลพม่
าเรี
ยก
คนกลุ่มนี้
ว่า “เซลัง” ส่วนมอแกลนริ
มฝั่งทะเล เรี
ยกมอแกลนบนเกาะพระทองว่า
กาลาห์ และมอแกลนกาลาห์ เรี
ยก มอแกลนชายฝั่งว่า มอแกลน บาแฮน และมอ
แกน เรี
ยกมอแกลน ว่
า โอรั
งตามั
บ หรื
อโกรั
ท (โอลิ
เวี
ยร์
แฟร์
รี
และคณะ : 2549) ค�
ำ
ว่
า “โอรั
งตามั
บ” ใกล้
เคี
ยงกั
บค�
ำบอกเล่
าที่
ผู้
วิ
จั
ยได้
ฟั
งจากปากของมอแกนอาวุ
โสที่
เป็
นเครื
อญาติ
ของมอแกนทั้
งสองกลุ
่
มว่
า พวกเขาเรี
ยกมอแกนที่
อาศั
ยบนบกว่
า “มอ
เก็
นตามั
บ” และเรี
ยกมอแกนที่
อาศั
ยบนเกาะว่า “มอเก็
นปูเลา” ภาษาที่
ใช้อยู่เป็น
ภาษาเดี
ยวกั
นโดยภาษามอ แกนเกาะ เปรี
ยบได้กั
บภาษากลาง สามารถใช้ติ
ดต่อ
กั
บมอแกนในพม่
าได้
ส่
วนภาษามอแกนบกเป็
นภาษาถิ่
น (อาภรณ์
อุ
กฤษณ์
: 2532)