Previous Page  175 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 175 / 326 Next Page
Page Background

174

สืบโยดสาวย่าน

ต�่

ำ ค่

าครองชี

พสูง จึ

งมี

ข้

อเสนอแนะว่

าควรจั

ดสวั

สดิ

การส่

งเสริ

มอาชี

พเพื่

อเพิ่

มรายได้

วางแผนครอบครั

วเพื่

อลดการมี

บุ

ตรมาก และส่งเสริ

มการศึ

กษา

ปั

ญหาด้

านเศรษฐกิ

จของชาวเลอูรั

กลาโว้

ยเกาะสิ

เหร่

สื

บเนื่

องจากชาวเมื

อง

มี

เครื่

องมื

อจั

บปลาที่

ทั

นสมั

ยกว่

า ทรั

พยากรทางทะเลถูกท�

ำลายมาก ส่

งผลให้

ชาวเล

จั

บปลาได้น้อย ส่วนปัญหาในหมู่บ้านและในครอบครั

ว ได้แก่ การถูกจ�

ำกั

ดบริ

เวณ

จั

บปลา ไม่

มี

ที่

ดิ

นเป็

นของตนเอง มี

รายได้

น้

อย และขาดน�้

ำดื่

มน�้

ำใช้

และปั

ญหาโดย

ส่วนรวม ได้แก่ ประชาชนมี

รายได้น้อย ประชาชนไม่มี

ที่

ดิ

นเป็นของตนเอง ขาดน�้

ดื่

มน�้

ำใช้

ถูกจ�

ำกั

ด บริ

เวณหาปลา ประชาชนไม่

รู้

หนั

งสื

อ ขาดบริ

การสาธารณูปโภค

และต้องการความช่วยเหลื

อจากหน่วยงานของรัฐ ฯลฯ (ประที

ป ชุ

มพล : 2524)

ในกลุ่มมอแกลน (มอแกนบก) บางพื้นที่คนไทยเป็นนายทุนท�

ำการประมง

และปลูกพื

ชยื

นต้

น มอแกลนน�

ำผลผลิ

ตหรื

อเก็

บของป่

าและงมสั

ตว์

น�้ำส่

งให้

ปั

จจุ

บั

มอแกลนไม่ปลูกข้าวได้อาศั

ยข้าวสาร อาหาร และของใช้จ�ำเป็นจากนายทุ

น แต่ก็

เป็

นหนี้

มากมาย เนื่

องจากนายทุ

นขายของแพงแต่

รั

บชื้

อสิ

นค้

าจากพวกเขาในราคา

ถูก (โอลิ

เวี

ยร์ แฟร์รี

และคณะ : 2549)

ในกลุ

มมอแกน (มอแกนเกาะ) ก็

เช่

นกั

น ต้

องอาศั

ยระบบเศรษฐกิ

จแบบพึ่

งพา

และมี

ข้

อผูกมั

ด โดยน�

ำของทะเลไปแลกเปลี่

ยนหรื

อขายให้

กั

บเพื่

อนบ้

านต่

างกลุ

มเพื่

แลกกั

บข้

าวสาร น�้

ำมั

น ของจ�

ำเป็นอื่

นๆ ขณะเดี

ยวกันยั

งคงรั

กษาอั

ตลั

กษณ์

และวิ

ถี

ชี

วิ

ตที่

อิ

สระอย่

างในอดี

ต เดิ

มชาวเลเป็

นเจ้

าของที่

ดิ

น ปั

จจุ

บั

นอยู่โดยไม่

มี

กรรมสิ

ทธิ์

เจ้

าของที่

ดิ

นไม่

อนุ

ญาตให้

ค้

าขาย (Narumon Hinshiran : 1996) จากการที่

วิ

ถี

ชี

วิ

ตของ

ชาวเลมอแกนเปลี่ยนไป มีการตั้งหลักแหล่งที่ถาวรมากขึ้น การเดินทางทางทะเล

จ�

ำกั

ดลง ความรู้

พื้

นบ้

านด้

านนิ

เวศทางทะเลสะท้

อนให้

เห็

นปรากฏการณ์

ของการ

เปลี่

ยนแปลงได้ชั

ดเจนยิ่

งขึ้

น เนื่

องจากมอแกนรุ่นใหม่หั

นมาพึ่

งพาอุ

ทยานแห่งชาติ

หมู่เกาะสุริ

นทร์ และอาศั

ยการรั

บจ้างท�

ำงานรายวั

นในฤดูท่องเที่

ยวเป็นช่องทางใน

การท�ำมาหากิ

น ดั

งนั้

นจึ

งพบว่ามี

ความขาดตอน และ “ช่องว่าง” ของความรู้พื้

บ้านที่

ขยายเพิ่

มขึ้

นระหว่างมอแกนรุ่นใหม่กั

บมอแกนรุ่นเก่าส่งผลให้

ความละเอี

ยด

อ่

อนในด้

านการด�

ำรงชี

วิ

ตที่

สอดคล้

องกั

บธรรมชาติ

ลดลง อั

ตลั

กษณ์

ของมอแกน