งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้
173
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของชาวเลอูรักลาโว้ยเกาะลันตา
ในอดี
ตเกิ
ดขึ้
นหลั
งจาก มี
การติ
ดต่
อสั
มพั
นธ์
กั
บชนต่
างกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
เริ่
มจากน�
ำ
สิ่
งของที่
ได้
จากทะเลไปแลกเปลี่
ยนกั
บเสื้
อผ้
า ของใช้
จ�
ำเป็
น และพึ่
งพากั
นหลาย
ด้
าน จนน�
ำไปสู่
การแต่
งงานข้
ามกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
การเปลี่
ยนแปลงครั้
งใหญ่
เกิ
ดขึ้
น
อี
กครั้
ง เมื่
อตั
ดสิ
นใจตั้
งถิ่
นฐานบนบก (อาภรณ์
อุ
กฤษณ์
: 2530) เมื่
อการท่
อง
เที่ยวเข้ามาส่งผลกระทบต่อภาษาวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชาวเลเกาะลันตาเช่น
กั
นพวกเขาถูกผลั
กดั
นให้
เข้
าไปอยู่
ในที่
ห่
างไกลจากชายฝั่
งทะเลและเข้
าไปเกี่
ยวข้
อง
กั
บตลาดเศรษฐกิ
จในสั
งคมรวม กลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
มี
ปมด้
อยเพิ่
มขึ้
นภายใต้
แรงกดดั
นของ
สถานการณ์ทางสั
งคม การเมื
อง และเศรษฐกิ
จ จนกระทั่
งยากที่
จะค้นหาบทบาท
ของตนเองในสังคมใหม่ แต่พวกเขาก็เข้าใจว่าเป็นไปไม่ได้ที่จะกลับไปใช้ชีวิตแบบ
เดิ
ม และหลั
งจากนั้
นเกิ
ดการเปลี่
ยนแปลงอี
กครั้
งหลั
งเหตการณ์สึ
นามิ
(Granbom :
2003, 2005)
นอกจากนั้
นยั
งมี
อี
กหลายเหตุ
ปั
จจั
ยที่
ท�
ำให้
ชาวเลต้
องติ
ดต่
อกั
บสั
งคม
ภายนอก ดังเช่น ผลการศึกษาชาวเลเกาะสิเหร่ พบว่ามีเหตุปัจจัยเรื่องที่ตั้ง การ
คมนาคม เครื
อญาติ
เศรษฐกิ
จ การเมื
อง สื่
อมวลชน การศึ
กษา ศาสนาฯลฯ และ
จากการติ
ดต่
อกั
บสั
งคมภายนอกนี่
เอง ท�ำให้
ปั
จจุ
บั
นเกิ
ดการเปลี่
ยนแปลงแบบแผน
ในการด�ำเนิ
นชีวิตเป็นแบบสมัยใหม่เหมือนกับคนไทยในท้องถิ่น ใกล้เคียงมากขึ้น
ในด้
านค่
านิ
ยม ทั
ศนคติ
โลกทั
ศน์
ของการด�
ำเนิ
นชี
วิ
ตในหมู่
พวกเขาเองโดยผ่
าน
การผสมกลมกลืน 4 ขั้นตอน คือขั้นแรกเปลี่ยนแบบแผนวัฒนธรรมดั้งเดิมไปเป็น
แบบของคนไทยท้
องถิ่
นใกล้
เคี
ยง ขั้
นที่
สองได้
รั
บการยอมรั
บให้
เข้
ากลุ่
มสมาคมและ
สถาบันต่างๆ ระดับท้องถิ่น ขั้นสามมีการแต่งงานกับคนภายนอกมากขึ้น ขั้นที่สี่
พั
ฒนาความรู้สึ
ก ในด้านการเป็นประชากรไทยอย่างเต็
มที่
(พิ
มพิ
ไล ตั้
งเมธากุ
ล :
2529) ทั้
งนี้
จากผลการศึ
กษาของ อร กุ้งแก้ว (2522) ปัจจั
ยที่
ก่อให้เกิ
ดการยอมรั
บ
สิ่
งใหม่ของชาวเลภูเก็
ต คื
อความสามารถในการใช้ภาษาและเข้าใจภาษาไทย การ
ติ
ดต่
อสื่
อสารกั
บบุ
คคลภายนอก และความเชื่
อทางด้
านประเพณี
การด้
อยการ
ศึ
กษา และความยากจนส่งผลให้ไม่สามารถเปลี่
ยนอาชี
พ ปัญหาส�
ำคั
ญคื
อรายได้