Previous Page  173 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 173 / 326 Next Page
Page Background

172

สืบโยดสาวย่าน

ผลการศึ

กษาชาวเลเกาะหลี

เป๊

ะ จั

งหวั

ดสตูล เรื่

องหนึ่

งพบว่

าอาหารหลั

ก คื

อาหารทะเล มี

การถนอมอาหารด้วยการตากแห้ง รั

กษาโรคด้วยไสยศาสตร์ควบคู่

กั

บแผนใหม่ (เยาวนิ

ตย์ ศรี

ละมุ

ล : 2541) อี

กเรื่

อง พบว่า เมื่

อเกิ

ดการเจ็

บป่วย จะ

ใช้

สมุ

นไพรในการรั

กษาโรค เช่

น ใช้

รากต้

นกายูสะเบนหลา หั่

นกิ

นกั

บหมากพลู เป็

ยาบ�ำรุงเลือด รากต้นบอเกาะซาบีสหั่นกินกับหมากพลู ส�

ำหรับผู้หญิงหลังคลอด

แก้เบื่

ออาหาร ฯลฯ (ยงยุ

ทธ พนิ

ตอั

งกูรและคณะ : 2530) และอี

กเรื่

องเป็นผลการ

ศึ

กษาภาวะเจริ

ญพั

นธ์ของสตรี

ชาวเล จั

งหวัดสตูล พบว่า กลุ่มตั

วอย่างส่วนใหญ่มี

การศึ

กษาน้อย อายุ

แรกสมรสต�่

ำ ไม่มี

อาชี

พเสริ

ม ส่งผลต่อค่านิ

ยมเกี่

ยวกั

บภาวะ

เจริ

ญพั

นธุ

ด้

านจ�

ำนวนบุ

ตร เพศของบุ

ตร คุ

ณค่

าของบุ

ตร และยั

งส่

งผลต่

อภาวะ

เศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตด้วย จึงควรส่งเสริมให้ชาวเลได้รับการศึกษาสูงขึ้นเพื่อ

พั

ฒนาคุ

ณภาพชี

วิ

ต อาชี

พ และความเป็นอยู่ให้ดี

ขึ้

น (หิ

รั

ญ ปะคุ

กา : 2547)

ส่วนผลการศึกษาชาวเล จังหวัดกระบี่ เพื่อสร้างหลักสูตรฝึกอบรมส�ำหรับ

ชาวเล พบปัญหาทางด้านประชากรที่

ส�

ำคั

ญ 3 ประการ คื

อ ขนาดครอบครั

วใหญ่

อั

ตราการตายของเด็

กและทารกสูง และการย้

ายถิ่

น (ชั

ยพฤกษ์

เสรี

รั

กษ์

: 2528) อี

เรื่

องเป็

นผลการศึ

กษาการอบรมเลี้

ยงดูเด็

กของชาวเลบ้

านสั

งกาอู้

พบว่

าแม่

มี

บทบาท

ในการอบรมเลี้ยงดูเด็กมากที่สุด เน้นการส่งเสริมพัฒนาการทางร่างกายมากกว่า

ด้

านอื่

น มี

การส่

งเสริ

มพั

ฒนาการด้

านสั

งคม สติ

ปั

ญญา เรี

ยนรู้

ด้

านภาษาธรรมชาติ

และสิ่

งแวดล้

อม คิ

ดสร้

างสรรค์

ภายใต้

บริ

บทของชาวเล (สุ

รั

สวดี

กองสุ

วรรณ์

: 2539)

การเปลี่

ยนแปลงในกลุ

มชาติ

พั

นธุ

ชาวเลเกิ

ดได้

2 ทาง เช่

นเดี

ยวกั

บการ

เปลี่

ยนแปลงในกลุ

ม ชาติ

พั

นธุ

ซาไก และกลุ

มชาติ

พั

นธุ

อื่

นๆ คื

อ เกิ

ดจากปั

จจั

ภายใน ได้

แก่

ปั

จจั

ยด้

านประชากร การประดิ

ษฐ์

คิ

ดค้

น ความขั

ดแย้

ง ความ

ขาดแคลนทรั

พยากร การอบรมสั่

งสอน และปั

จจั

ยภายนอก ได้

แก่

การรั

บเทคโนโลยี

สั

งคมภายนอกรุกราน และแผนพั

ฒนาของรั

ฐ ลั

กษณะของการเปลี่

ยนแปลงเกิ

จากภาวะประชากร สถานภาพ บทบาทและสถาบันทางสังคม อันส่

งผลกระทบ

ในระดั

บปั

จเจกครอบครั

ว เศรษฐกิ

จสั

งคมและวั

ฒนธรรมท�

ำให้

วิ

ถี

ชี

วิ

ตที่

เคยเรี

ยบ

ง่ายซั

บซ้อนขึ้