Previous Page  172 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 172 / 326 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

171

ร้

อยละ 97 เคยได้

รั

บบริ

การด้

านสาธารณสุ

ข ร้

อยละ 98 ตอบว่

าสนใจอยากได้

รับความรู้ด้านอนามัย ส�ำหรับการรักษาเมื่อเจ็บป่วย ร้อยละ 77 ซื้อยามากินเอง

ร้อยละ 20 ไปสถานี

อนามั

ยหรื

อโรงพยาบาล เกี่

ยวกั

บขนาดของครอบครั

ว ร้อยละ

65 เห็

นว่าควรมี

บุ

ตร 3-4 คน (จรั

ส ทองจี

น : 2536) ชาวเลภูเก็

ตส่วนใหญ่มี

ฐานะ

ทางเศรษฐกิ

จต�่

ำ มี

ความเชื่

อเรื่

องผี

อย่

างเหนี

ยวแน่

น ปั

ญหาโรคอุ

จจาระร่

วงและ

โรคเกิ

ดจากการด�

ำน�้

ำ มี

ระบบการรั

กษาโรคแบบพหุ

ลั

กษณ์

คื

อมี

ทั้

งรั

กษาแบบแผน

โบราณ และแผนปั

จจุ

บั

น (สมบูรณ์

อั

ยรั

กษ์

และคณะ : 2535) ขั้

นตอนการบ�

ำบั

ดโรค

ของชาวเลภูเก็

ต เริ่

มจากการวิ

นิ

จฉั

ยโรค สั

งเกตอาการ สอบถามประวั

ติ

การรั

กษา

ตรวจดูอาการ จั

ดขั

นหมากครูเพื่

อขอให้หมอบ�

ำบั

ดรั

กษา บนบานสิ่

งศั

กดิ์

สิ

ทธิ์

เพื่

ให้หาย จั

ดหาสมุ

นไพร ท�

ำน�้ำมนต์ การเตรี

ยมตั

วของหมอ และผู้ป่วย (อรุ

ณรั

ตน์

สรรเพ็ชร : 2541) ผลการศึกษาภูมิปัญญาการแก้ปัญหาสาธารณสุข กรณีศึกษา

อาชี

พด�

ำน�้

ำของชาวเลภูเก็

ตพบว่า ปัจจั

ยที่

มี

ผลต่อการเป็นโรค DCS ได้แก่ ระยะ

เวลาในการประกอบอาชี

พ จ�

ำนวนพี่

เลี้

ยงที่

คอยช่วยเหลื

อผู้ด�

ำน�้

ำ ความลึ

กในการ

ด�

ำ มี

เหตุ

ผิ

ดปกติ

ต้องขึ้

นสู่ผิ

วน�้

ำอย่างรวดเร็

ว ฯลฯ ขบวนการแก้ปัญหาใช้พิ

ธี

กรรม

ต่างๆ ผสมวิ

ธี

เชิ

งวิ

ทยาศาสตร์และการปรั

บตั

วส�

ำหรั

บการรั

กษาต่อเนื่

อง (สมบูรณ์

อั

ยรั

กษ์ และคณะ : 2538) สตรี

ชาวเลภูเก็

ต วั

ย 15-49 ปี ไม่ปฏิ

เสธการวางแผน

ครอบครั

วแต่

มี

เหตุ

ผลที่

ส�

ำคั

ญกว่

าคื

อด้

านความอบอุ

น การพึ่

งพิ

งยามชรา พึ่

งพิ

งทาง

เศรษฐกิจ เหตุผลด้านวัฒนธรรมความเชื่อ และด้านปัจจัยทางประชากรจึงมีการ

ศึ

กษาอบรมให้

เห็

นความ ส�

ำคั

ญของการวางแผนครอบครั

ว (อมราพร เชาวนาพั

นธ์

:

2536) ผลการศึ

กษาเกี่

ยวกั

บภาวะเจริ

ญพั

นธุ์ของสตรี

ชาวเล พบว่า ความแตกต่าง

ด้

านประชากร เศรษฐกิ

จสั

งคมมี

ผลต่

อภาวะเจริ

ญพั

นธุ์

ของสตรี

ชาวเล จั

งหวั

ดภูเก็

กระบี่ เด่นชัดกว่า จ.พังงา (ถวิล น�ำปัญจพล : 2526) ผลการศึกษาชาวเลภูเก็ต

อี

กกรณี

หนึ่

ง พบยี

นบี

ตาอี

2 แบบ แบบหนึ่

งเหมื

อนในคนไทย ลาว ลาวโซ่ง ภูไท

โส้ และกุ๋ยแสดงว่าชาวน�้

ำมียีนบีตาอีโกลบินที่มีต้นก�

ำเนิ

ดเดียวกัน อีกแบบพบได้

บ่อยในชาวเขมรแสดงว่ามี

การแต่งงานข้ามกลุ่มกั

บคนเชื้

อสายเขมรและการศึ

กษา

แฮปโพลไทป์

ของกลุ่

มยี

นบี

ตาโกลบิ

นพบยี

นที่

มี

ลั

กษณะแฮปโพลไทป์

ที่

พบได้

มากใน

ชนเผ่าต่างๆ ในไทย (นั

นทนา ชื่

นชมคณาธร : 2542)