งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้
143
ชื่
อผลไม้
นี้
ตามลั
กษณะของผมของชาวเงาะ เนื่
องจากชาวพั
ทลุ
งและตรั
งดั้
งเดิ
มเรี
ยก
เงาะว่
า “ลูกผมเงาะ” ส�
ำหรั
บซาไกในเขตเทื
อกเขาบรรทั
ดเรี
ยกตั
วเองว่
า “มั
นนิ
” เป็
น
ภาษาในกลุ่มมอญ-เขมร แปลว่า คน (ไพบูลย์ ดวงจั
นทร์ : 2523)
ลั
กษณะทางกายภาพทั่
วไปของซาไกตามค�
ำอธิ
บายของจิ
ตร ภูมิ
ศั
กดิ์
คล้ายคลึงกับเผ่าพันธุ์นิโกรในอาฟริกา เป็นคนเคระ ตัวเตี้ยกว่าเซมัง ผิวคล�้ำแดง
ผมหยิ
กเป็นก้นหอย หน้าสั้
น ฟันขาว คางใหญ่ ริ
มฝีปาก หนา ตาพอง ท้องยาว
น่
องเรี
ยว เป็
นชนชาติ
ในตระกูลออออสโตร-เอเชี
ยติ
กที่
กระจายมาจากอิ
นเดี
ยแต่
ดึ
กด�
ำบรรพ์และชนพวกนี้
ถูกเข้าใจว่าเป็นพวกเดี
ยวกั
บเซมั
ง
ผลงานอี
กเรื่
องน�
ำแนวคิ
ดของ Brandt (1961) มาอธิ
บายว่า ซาไกมี
เชื้
อสาย
นิ
กริ
โต (Nigrito) ซึ่
ง เป็
นเผ่
าพั
นธุ
์
ที่
กระจายกั
นอยู่
ตามพื้
นที่
ต่
างๆ ในทวี
ปเอเชี
ย
จ�
ำแนกเป็
น 2 พวก พวกหนึ่
งคื
อ African Nrigroid อาศั
ยอยู่
ในทวี
ปอั
ฟริ
กา อี
กพวกคื
อ
กลุ่
ม Oceanic Negroid เป็
นนิ
กริ
โตลูกผสมระหว่
างมองโกลอยด์
ออสตราลอยด์
และ
นิ
กรอยด์
แต่
ยั
งคงลั
กษณะทางกายภาพ พฤติ
กรรมและวิ
ถี
การด�
ำเนิ
นชี
วิ
ตคล้
ายกั
บ
นิ
กรอยด์ เป็นกลุ่มที่
อาศั
ยอยู่ในอาณาจั
กรฟูนาน เวี
ยดนาม ชายแดนไทย-กั
มพูชา
และพวกซาไกที่
อาศั
ยอยู่ทางภาคใต้ของไทย (อาภรณ์ อุ
กฤษณ์ : 2536)
ขณะที่
อาภรณ์ อุ
กฤษณ์ (2536) อธิ
บายว่า ลั
กษณะโครงสร้างทางร่างกาย
ของซาไกจากบั
นทึ
กทั่
วไป มี
ขนาดปานกลาง กะโหลกศี
รษะค่อนข้างกลม ผมหยิ
ก
ขมวดกลมเป็นก้นหอยติ
ดหนั
งศี
รษะ นั
ยน์ตาสี
ด�
ำกลมโต จมูกแบนกว้าง ริ
มฝีปาก
หนา ฟันซี่ใหญ่แต่สั้น ผิวสีน�้ำตาลไหม้ แต่ซาไกที่พบเห็นรูปร่างค่อนข้างสูง ผอม
โดยเฉลี่ย ผู้ชายสูงประมาณ 170-180 เซนติเมตร ผู้หญิง 155 เซนติเมตร ขึ้นไป
ล�ำตัวตั้งตรงแขนขาเรียวยาว ปลายเท้าหันเข้าหากัน หัวแม่เท้างองุ้มและแข็งแรง
เนื่
องจากใช้กดพื้
นขณะเดิ
นป่าและไต่เขา
การศึ
กษาความสั
มพั
นธ์
และการจ�
ำแนกความแตกต่
างระหว่
างกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ไม่
ปรากฏชั
ด มี
เพี
ยงการแบ่
งกลุ
่
มซาไกโดยยึ
ดความแตกต่
างทางด้
านภาษาเป็
น
หลั
ก ดั
งกล่
าวข้
างต้
น แต่
จากการศึ
กษาความสั
มพั
นธ์
ทางสั
งคมของซาไก พบว่
าจะ