Previous Page  145 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 145 / 326 Next Page
Page Background

144

สืบโยดสาวย่าน

มี

ความสั

มพั

นธ์ใกล้ชิ

ดกั

นตามสายตระกูล เช่น ซาไกในเขตอ�

ำเภอปะเหลี

ยน และ

บริเวณใกล้เคียงบนเทือกเขาบรรทัด ซึ่งเป็นกลุ่

มสายตระกูลเดียวกัน มีประชากร

100 คนเศษ แบ่

งกลุ่

มตามแหล่

งที่

อยู่

อาศั

ยเป็

น 6 กลุ่

ม คื

อ กลุ่

มเหนื

อคลองตง กลุ่

คลองลิ

พั

ง กลุ่มเจ้าพะ กลุ่มเขาสอยดาว กลุ่มบ้านในตระ และกลุ่มมะนั

ง ช่วงของ

ความสัมพั

นธ์ ระหว่างซาไกต่างกลุ่มที่อยู่ในสายตระกูลเดียวกันจะมี

ความใกล้ชิด

กันมากน้อยขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ทางสายเลือดและระยะห่างของการตั้งถิ่นฐาน

ด้วย (อาภรณ์ อุกฤษณ์ : 2536)

ศั

กยภาพของชาติ

พั

นธุ์ซาไกในการพั

ฒนาในภาพรวม พบว่า พวกเขาไม่ให้

ความส�

ำคั

ญกั

บการศึ

กษามากกว่าการเก็

บของป่าล่าสั

ตว์ บางกลุ่มรั

บจ้างแรงงาน

ถางป่า ท�

ำสวน ท�

ำไร่ท�

ำมาหากิ

นไปวั

นๆ ไม่มี

การสะสมอาหาร หรื

อทรั

พย์สิ

น เมื่

มี

กิ

น หรื

อมี

เงิ

น ก็

จะหยุ

ดท�

ำงานจนกว่าอาหาร หรื

อเงิ

นหมดจึ

งเริ่

มท�

ำใหม่ “เพราะ

ใช้

เงิ

นไม่

ทั

น” ในยุ

คหลั

งซาไกบางกลุ

มรู้

จั

กหาสมุ

นไพรและของป่

าออกไปขายให้

คนภายนอกบ้

าง แต่

ไม่

ได้

พั

ฒนาเป็

นธุ

รกิ

จระดั

บชุ

มชน หรื

อระดั

บเมื

อง มี

เพี

ยงกลุ่

เดี

ยวที่

ตั้

งบ้านเรื

อนถาวร รู้จั

กท�

ำสวนยางพารา คื

อกลุ่มที่

ใช้นามสกุ

ล “ศรี

ธารโต”

ด้านปั

ญหา การปรั

บตั

ว การผสมผสาน และการเปลี่

ยนแปลงทางชาติ

พั

นธุ์

พบว่

ากลุ

มชาติ

พั

นธุ

ซาไกมี

การแต่

งงานข้

ามกลุ

มชาติ

พั

นธุ

บ้

างเพี

ยงไม่

กี่

คู่

ซึ่

งนั

บว่

ามี

จ�

ำนวนน้

อยมากเมื่

อเที

ยบกั

บกลุ่

มชาติ

พั

นธุ์

ชาวเล ปั

จจุ

บั

นซาไกส่

วนหนึ่

งยั

งคงด�

ำรง

ชี

วิ

ตด้

วยการเก็

บของป่

าล่

าสั

ตว์

เร่

ร่

อน ตามฤดูกาล ไม่

มี

นิ

สั

ยเก็

บสะสม หรื

อกั

กตุ

อาหาร ยั

งคงสืบทอดประเพณี

ดั้

งเดิ

มไว้ เช่น การแต่งงาน การแบ่งปันอาหารที่

ล่า

มาได้ และการกินเผือกมันเป็นอาหาร แต่ขณะเดียวกันเมื่อทรัพยากรธรรมชาติใน

ป่

าร่

อยหรอลงพร้

อมกั

บการตั

ดไม้

ท�

ำลายป่

าโดยคนเมื

องว่

าจ้

างให้

คนบ้

านตั

ดไม้

แล้

คนบ้

านก็

เข้

าไปว่

าจ้

างแรงงานซาไกในการแบกหามเพื่

อขนย้

ายอี

กทอดหนึ่

ง สั

ตว์

ป่

ก็

ถูกล่า ถูกจ�ำกั

ดที่

อยู่อาศั

ย แหล่งน�้

ำแห้งขอด ทรั

พยากรธรรมชาติ

ไม่สามารถฟื้น

ตั

วตามธรรมชาติ

ได้

การตั

ดถนนและบุ

กเบิ

กเส้

นทางเพื่

อชั

กลากไม้

ออกจากป่

า การ

ปฏิ

สั

มพั

นธ์

และรั

บเอาวั

ฒนธรรมจากกลุ่

มชนภายนอก การที่

คนบ้

านเข้

าไปยึ

ดครอง

พื้

นที่

เพื่

อท�

ำสวนยาง การเข้

าไปปลูกข้

าวแบบไร่

เลื่

อนลอย และการน�

ำเลื่

อยยนต์