142
สืบโยดสาวย่าน
ดันให้พวกเขาต้องย้อนกลับไปสู่วิถีชีวิตดั้งเดิมอีกครั้ง โดยเปลี่ยน จากการท�ำไร่ปลูก
ข้าวเลี้ยงครอบครัว ตั้งบ้านเรือนค่อนข้างถาวร กลับไปใช้ชีวิตเร่ร่อนเก็บของป่าล่า
สัตว์เหมือนในอดีต แม้อาหารจากธรรมชาติจะหายากและจะต้องเดินทางไกลมาก
ขึ้นก็ตาม ข้อค้นพบนี้แสดงให้ เห็นว่าวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมไม่จ�ำเป็นต้องเป็น
ไปตามขั้นตอนอาจจะเปลี่ยนแปลงช้าเร็วหรือก้าวกระโดด ข้ามขั้นตอน หรือเปลี่ยน
กลับมาใช้รูปแบบวัฒนธรรมดั้งเดิมได้ นอกจากนั้น ยังพบว่าแม้ ซาไกกลุ่มนี้รับจ้าง
บุคคลภายนอก ตัดไม้ด้วยเลื่อยโซ่ โดยไม่กลัวผีไม้ลงโทษตามความเชื่อดั้งเดิม แต่
วิถีคิดของกลุ่มชนโดยทั่วไป ยังคงผูกติดกับสิ่งเหนือธรรมชาติอย่างเหนียวแน่น เช่น
เชื่อว่าการถ่ายรูปท�ำให้เป็นตาแดง ความร้อนจากไฟสปอร์ตไลท์ที่คนภายนอกเข้าไป
ถ่ายท�ำสารคดีท�ำให้น�้ำในล�ำคลองแห้ง ท�ำให้เจ็บป่วย การกินอาหารที่มีผู้ถ่ายรูป
ไว้แล้วจะท�ำให้ปวดท้อง การถ่ายอุจจาระลงในล�ำคลองเป็นบาปเป็นต้น (อาภรณ์
อุกฤษณ์ : 2536)
ไม่
ปรากฏผลงานที่
ศึ
กษาด้
านอั
ตลั
กษณ์
ทางชาติ
พั
นธุ
์
ของซาไกโดยตรงแต่
จะ
มี
ผู้
รวบรวมแนวคิ
ดเกี่
ยวกั
บลั
กษณะอั
ตลั
กษณ์
และกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ของซาไกที่
มี
ผู้
เขี
ยน
ไว้หลายท่าน เช่น จิ
ตร ภูมิ
ศั
กดิ์
(2519) ไพบูลย์ ดวงจั
นทร์ (มปป.) และพระบาท
สมเด็
จพระจุ
ลจอมเกล้
าเจ้
าอยู่
หั
ว (2512) พอประมวลได้
ว่
า ด้
วยลั
กษณะทางสั
งคม
และทางกายภาพที่
แตกต่างไปจากคนทั่
วไปท�
ำให้ มี
ชื่
อเรี
ยกหลายชื่
อ เช่น ชาวป่า
เงาะป่า เซมั
ง หรื
อซี
มั
ง (เซี
ยมั
ง) ซาไก หรื
อ สะไก นิ
กริ
โต หรื
อซาแก ซึ่
งชื่
อเหล่า
นี้
ตั้
งขึ้
นโดยคนภายนอกและมี
ความหมายไปทางดูแคลน ดั
งเช่นค�
ำว่า “ซาไก” ใน
ภาษามลายูแปลว่า ไพร่ หรื
อคนใต้ปกครอง เนื่
องจากซาไกเป็นชนเผ่าดั้
งเดิ
มของ
มลายู เมื่
อมลายูได้
ครอบครองดิ
นแดนแถบนี้
จึ
งเรี
ยกซาไกซึ่
งอยู่
ภายใต้
การปกครอง
ว่า “ออรั
ง ซาไก” ทางสามจั
งหวั
ดภาคใต้เรี
ยกว่า “ซาแก” แปลว่า แข็
งแรง หรื
อ
ป่าเถื่
อน เพราะอาศั
ยอยู่ตามป่า (สุ
วั
ฒน์ เชื้
อหอม : 2538)
ส่วนค�
ำว่า “เงาะ” หรื
อ “เฮาะ” สั
มพั
นธ์กั
บลั
กษณะของเส้นผมของซาไก ที่
หยิ
กหย็
องคล้
ายกั
บขนของผลไม้
ชนิ
ดหนึ่
งที่
เรี
ยกว่
า เงาะ ซึ่
งตามทั
ศนะของผู้
ศึ
กษา
ระหว่
างชาวเงาะกั
บผลไม้
ที่
เรี
ยกว่
า เงาะ นั้
น ไม่
แน่
ใจว่
าอะไรมาก่
อน แต่
น่
าจะเรี
ยก