Previous Page  150 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 150 / 326 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

149

ก�

ำลั

งทหารเข้

าไปปราบปรามนั

กศึ

กษาประชาชนที่

เข้

าไปซ่

องสุ

มก�

ำลั

งในป่

า โดยใช้

เครื่องบินทิ้งระเบิดท�ำลาย แต่ส่งผลกระทบที่สร้างความเจ็บปวดและสับสนให้กับ

ความไม่

รู้

เท่

าทั

นของสมาชิ

กกลุ่

มชาติ

พั

นธุ์

ซาไกเป็

นอย่

างมาก สะท้

อนให้

เห็

นถึ

งช่

อง

ว่

างระหว่

างวิ

ถี

คิ

ดของซาไกกั

บคนเมื

อง (อาภรณ์

อุ

กฤษณ์

: 2542) และบทความอี

เรื่

อง เล่

าถึ

งประสบการณ์

และปั

ญหาเกี่

ยวกั

บซาไกกลุ่

มอ�

ำเภอปะเหลี

ยน ซึ่

งผู้

เขี

ยน

เข้าไปพบเห็นในช่วงเวลาสั้นๆ แทรกความรู้สึกส่วนตัวด้วยค�

ำพูดและมุมมองของ

“คนเมื

อง” เช่น ค�

ำบรรยายที่

ว่า สภาพที่

พบเห็นว่าซาไก “เนื้

อตั

วสกปรกมอมแมม

น่าเวทนา” “เสื้อผ้

ามันด�

ำด่

างขมุกขมัว” “เห็นแล้

วถึงกับอึ้งพูดไม่

ออกไปชั่วขณะ

หนึ่

งด้วยความเวทนา” หรือสะท้อนความคิดว่า “คนภายนอกมองว่าพวกเขาเป็น

“คนโง่” หรื

อ “ลั

กษณะนิ

สั

ยเป็นคนขี้

เกี

ยจ” ฯลฯ (อาร์ม อิ

สสระ : 2536) หรื

อแม้แต่

ชื่

อที่

ตั้

งขึ้

นโดยคนภายนอกก็

มี

ความหมายไปทางดูแคลน ดังเช่นค�

ำว่า “ซาไก” ใน

ภาษามลายูแปลว่า ไพร่ หรื

อคนใต้ปกครอง เนื่

องจากซาไกเป็นชนเผ่าดั้

งเดิ

มของ

มลายู เมื่

อมลายูได้

ครอบครองดิ

นแดนแถบนี้

จึ

งเรี

ยกซาไกซึ่

งอยู่

ภายใต้

การปกครอง

ว่า “ออรั

ง ซาไก” ทางสามจั

งหวั

ดภาคใต้เรี

ยกว่า “ซาแก” แปลว่า แข็

งแรง หรื

ป่าเถื่

อน เพราะชอบอาศั

ยอยู่ตามป่า (สุ

วั

ฒน์ เชื้

อหอม : 2538)

3.3 การเปลี่ยนแปลงสังคมและอัตลักษณ์ของชาวเล

ผลการประเมิ

นและสั

งเคราะห์

ผลงานกลุ

มชาติ

พั

นธุ

ชาวเล ด้

านปริ

มาณ

ผลงานเท่

าที่

สื

บค้

นได้

จ�

ำนวน 54 เรื่

อง เป็

นบทความและสารคดี

ตั้

งแต่

ปี

พ.ศ.2516-2548 จ�

ำนวน 15 เรื่

อง หนั

งสื

อปี

พ.ศ.2513-2549 จ�

ำนวน 11 เรื่

อง

งานวิ

จั

ย สารนิ

พนธ์ และวิ

ทยานิ

พนธ์ ปีพ.ศ.2519-2547 จ�

ำนวน 28 เรื่

อง

ในจ�

ำนวนบทความ 15 เรื่

อง มี

ต้นฉบั

บเป็นภาษาอั

งกฤษ 1 เรื่

อง ชื่

อ “Men

of The Sea : Coastal Tribes of South Thailand’s West coast” (Hogan : 1972)

หนั

งสื

อ 11 เรื่

อง มี

ต้นฉบั

บเป็นภาษาอั

งกฤษ 2 เรื่

อง ชื่

อ “The Moken boat

Symbolic Technology” (Jacques Ivanoff :1999) และ “

Urak Lawoi : A field study