Previous Page  149 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 149 / 326 Next Page
Page Background

148

สืบโยดสาวย่าน

และได้

รั

บการรั

บรองสิ

ทธิ

ตามกฎหมาย ในปี

พ.ศ.2516 กรมประชาสงเคราะห์

ได้

รวบรวมซาไกที่

เร่

ร่

อนกระจายอยู่

เป็

นกลุ

มเล็

กๆ แถบอ�

ำเภอบั

นนั

งสตาและ

อ�ำเภอธารโต จังหวัดยะลา ให้มาอยู่รวมกันที่นิ

คมสร้างตนเองธารโตโดยได้จัดสรร

ที่

ดิ

นท�

ำกิ

นให้

ประมาณ 300 ไร่

และสมเด็

จพระศรี

นคริ

นทราบรมราชชนนี

ได้

พระราชทานนามสกุ

ลว่

า “ศรี

ธารโต” หลั

งจากนั้

น ปี

พ.ศ.2519 กรมประชาสงเคราะห์

ได้สร้างบ้านเรือนให้อยู่อาศัย และเมื่อปี พ.ศ.2527 กระทรวงมหาดไทยได้ให้การ

รั

บรองสิ

ทธิ

ตามกฎหมาย (ไพบูลย์ ดวงจั

นทร์ : 2546)

ไม่

อาจปฏิ

เสธได้

ว่

ากลุ

มชาติ

พั

นธุ

ซาไกมี

โลกทั

ศน์

และวิ

ถี

คิ

ดแตกต่

าง

จากคนเมื

องทั่

วไป เมื่

อไม่

สามารถอยู่

โดดเดี่

ยวได้

ในสภาวะแวดล้

อมที่

เปลี่

ยนไป

จ�

ำเป็นต้องมี

ปฏิสั

มพั

นธ์กั

บผู้คนต่างชาติ

พั

นธุ์ที่

แตกต่างกั

นมาก จึ

งจ�

ำเป็นต้องปรั

ตั

วให้อยู่รอด ท่ามกลางมายาคติ

การกี

ดกั

น และการเลื

อกปฏิ

บั

ติ

ทางชาติ

พั

นธุ์ ซึ่

ปรากฏในผลงานบางเรื่

อง ดั

งเช่น ผลงานที่

กล่าวถึ

งนิ

สั

ยใจคอ และสติ

ปัญญาของ

พวกเขาว่า มีอุปนิสัยร่าเริง ชอบดนตรีและเสียงเพลง กลัวคนแปลกหน้า เกลียด

การดูถูกเหยี

ยดหยาม อดทน กิ

นจุ ถ้

ามี

อาหารจะกิ

นทั้งวั

น ถ้

าไม่

มี

ก็

อด ได้

เป็

วั

นสองวัน หากดูอย่างฉาบฉวยไม่สั

มพั

นธ์ให้ลึ

กซึ้

งจะมองว่าเขาเป็นคนโง่...ไม่ค่อย

ขยั

น พอใจกั

บความสุ

ขสบายไปแต่ละมื้

อแต่ละวั

น สั

งเกตได้จากการหั

กฝาบ้านมา

ท�ำฟืน ถอดผ้าผวยที่ห่มกันหนาวเอาใส่ไฟเพราะเกียจคร้านที่จะออกไปหาฟืนซึ่งมี

อยู่รอบๆ ทับนั่

นเอง...ชาวเงาะทั่วไปจะมีแววฉลาดหลักแหลมเรียนรู้ภาษาเร็ว แต่

ผู้ใหญ่ที่

ไม่ได้รับการศึ

กษา มี

ความบริ

สุ

ทธิ์

จนดูเหมื

อนโง่ และจะถูกหลอกลวง ถูก

เอารั

ดเอาเปรี

ยบจากบุ

คคลอื่

นอยู่เสมอ... ซาไกคนหนึ่

งซึ่

งคุ้นเคยกั

บสั

งคมเมื

องอยู่

บ้างมั

กจะอบรมลูกบ้านของเขาเสมอว่า ชาวเงาะก็

เหมื

อนคนทั่

วไป มีเลื

อดเนื้

อ มี

ความรู้สึกร้อนหนาว รู้จักอายเหมือนกัน ชาวเงาะไม่ใช่ลูกสุนั

ขประหลาดที่คนอื่น

จะพาไปกั้

นผ้

าเก็

บเงิ

นในงาน โดยได้

รั

บค่

าตอบแทนไม่

คุ้

มอาย (ไพบูลย์

ดวงจั

นทร์

:

2523) (ในอดี

ตเคยมี

ผู้

น�

ำซาไกไปเร่

แสดงการเป่

าลูกดอกในงานประจ�

ำปี

หลาย

จังหวัด, ผู้วิจัย) เนื้อหาจากบทความเรื่องหนึ่

ง ก็เขียนขึ้นจากค�ำบอกเล่าของอดีต

สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย บนเทือกเขาบรรทัดในช่วงที่รัฐบาลส่ง