Previous Page  138 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 138 / 326 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

137

การเก็บของป่าล่าสัตว์ การรวมกลุ่มกันท�ำเครื่องมือ การเรียนรู้วิธีการเก็บ

ของป่าล่าสัตว์ ในสังคม ซาไก และการสร้างทับส�

ำหรับพักอาศัย ก็นับเนื่องเป็น

ความบั

นเทิ

งอย่

างหนึ่

ง นอกจากนั้

น ยั

งมี

ผลงานที่

กล่

าวถึ

งวิ

ถี

ชี

วิ

ตของหนุ

มสาวซาไก

ว่

า ปั

จจุ

บั

นได้

ฟั

งวิ

ทยุ

ดูโทรทั

ศน์

จากบ้

านชาวบ้

านที่

อยู่

ใกล้

เคี

ยง พวกเขาร้

องเพลง

ภาษาไทยกลางตามเสี

ยงวิ

ทยุ

เช่

น เพลงของนั

กร้

องลูกทุ

ง นอกจากนั้

นยั

งเอาท�

ำนอง

ที่

เคยได้

ยิ

นจากวิ

ทยุ

มาใส่

เนื้

อเพลงที่

เกี่

ยวกั

บเรื่

องที่

พบเห็

น เช่

น เรื่

องการล่

าสั

ตว์

ของ

ตนหรื

อเรื่

องการเดิ

นทางไปเยี่

ยมญาติ

(จิ

รวดี

อ่อนวงศ์ : 2534) จากการสอบถาม

พวกเขาบอกว่าไม่มี

เพลง แต่ในภาษาซาไกมี

ศั

พท์ค�

ำว่า “Piya” แปลว่า เพลง หรื

ร้องเพลง แท้ที่จริงแล้วเพลงซาไกไม่มีเนื้อร้องที่แน่นอน คือไม่มีการแต่งเนื้อร้องไว้

เหมื

อนเพลงไทย หรื

อเพลงสากล แต่

จะคล้

ายกั

บเพลงของชาวเล ซึ่

งเป็

นกลุ่

มดั้

งเดิ

ที่

ไม่

มี

ภาษาเขี

ยน ไม่

มี

การจดบั

นทึ

ก อาศั

ยการจดจ�

ำท�

ำนองแล้

วแต่

งเนื้

อร้

องสดๆ ใน

ขณะที่

ร้

อง เนื้

อร้

องส่

วนใหญ่

มั

กจะบรรยายการเดิ

นทางไปล่

าสั

ตว์

บรรยายเหตุ

การณ์

ที่เกิดขึ้นขณะที่ร้อง หรือบางครั้งใช้โต้ตอบแทนการพูดคุยทั่วไป เช่น ร้องบรรยาย

ลักษณะเครื่องบินขณะเฝ้าดูเครื่องบินบินผ่าน และร้องโต้ตอบเพื่อล้อเลียนค�

ำพูด

ของผู้วิจัย ปัจจุบันมีการเลียนแบบท�

ำนองเพลงไทยและมาเลย์จากวิทยุ และบาง

ครั้

งแต่งเนื้

อร้องเป็นภาษาไทย (อาภรณ์ อุ

กฤษณ์ : 2536)

นอกจากนั้

น ยั

งใช้

เวลาว่

างในการเล่

านิ

ทาน ต�ำนาน หรื

อเล่

าเรื่

องประทั

บใจ

ที่เคยเกิดขึ้นในอดีตซ�้

ำแล้วซ�้ำอีก เพื่อเรียกเสียงหัวเราะจากสมาชิก หรือหากไม่มี

อะไรท�

ำขณะนั่

งรอให้

ตะวั

นตกดิ

น ก็

จะนั่

งยองๆ บนขอนไม้

ฟั

งเสี

ยงค่

างที่

เกาะปลาย

ไม้บนภูเขาสูง เพื่

อนั

บจ�

ำนวนค่าง (อาภรณ์ อุ

กฤษณ์ : 2536)

แม้ลักษณะสังคมทั่วไปของชาวเงาะหรือซาไกยังเป็นสังคมยุคล่าสัตว์และ

เก็บหาอาหาร แต่ข้อเท็จจริงลักษณะการตั้งครอบครัวไม่มีร่องรอยของการสมรสแบบ

หมู่ หรือพิวนาลวน

หรือสมรสคู่

หากแต่เป็นระบบครอบครัวที่พัฒนาถึงขีดสุดแล้ว

คือเป็นครอบครัวผัวเดียวเมียเดียวอย่างมีระบบแบบแผน ชายหญิงในเครือญาติ

ใกล้ชิดกันจะสมรสกันไม่ได้ และไม่มีการส�ำส่อนในเรื่องเพศ ไม่มีการเป็นชู้กัน และ

ไม่มีผู้หญิงลักษณะเป็นโสเภณี