136
สืบโยดสาวย่าน
เป็น 2 แบบ คื
อ กลุ่มท�ำนองเสี
ยงขึ้
น (Rising Intonation) และกลุ่มท�ำนองเสี
ยงตก
(Falling Intonation) (เสาวนี
ย์ พากเพี
ยร : 2532) มี
ข้อโต้แย้ง จากนั
กภาษาศาสตร์
ชาวเยอรมนี
ผู้
เชี่
ยวชาญภาษามอญ-เขมร (Bauer :1991) ว่
าภาษาแต็
นแอ๊
นแท้
ที่
จริ
งเป็นภาษากั
นซิ
ว (Kensiw) เช่นเดี
ยวกั
บกลุ่มต�ำบลศรี
ธารโต จั
งหวั
ดยะลา ด้วย
เหตุ
ผลดั
งกล่าวข้างต้น
มีผลงานวิจัย
วรรณกรรมเรื่องหนึ่
ง ชื่อ “ตามรอยพระพุทธเจ้าหลวง” เพื่อ
ศึ
กษาเส้นทางการเสด็
จประพาสเมื
องพั
ทลุ
งของรั
ชกาล 5 ปี พ.ศ.2432 การจั
ดหา
เงาะป่า “คนั
ง” ไปถวายตามพระราชด�ำริ
เนื้
อหากล่าวถึ
ง เชื้
อชาติ
เผ่าพั
นธุ์และ
วิ
ถี
ชี
วิ
ตของเงาะป่
า สถานที่
เสด็
จประพาสผ่
าน อดี
ตเมื
องพั
ทลุ
ง และบทสุ
ดท้
าย
วิ
เคราะห์วรรณกรรม เรื่
อง ”เงาะป่า”
(
หน่วยศึ
กษานิ
เทศก์เขตฯ 3 : มปป.)
ไม่
มี
ผลงานที่
ศึ
กษาเกี่
ยวกั
บนั
นทนาการของซาไกโดยตรง แต่
มี
ผลงานที่
กล่
าว
ถึงการพักผ่อนอารมณ์ของซาไกว่าคงมีมนุษย์ไม่กี่เผ่าที่มีการพักผ่อนง่ายๆ อย่าง
ชาวเงาะ สถานที่
พั
กผ่
อนในยามว่
างก็
คื
อบริ
เวณใกล้
ทั
บที่
อาศั
ย พวกผู้
ชายก็
ออกล่
า
สั
ตว์เป็นกี
ฬา พวกผู้หญิ
งหาใบไม้ ดอกไม้มาทั
ดหู ปกติ
ชาวเงาะจะมี
เวลาพั
กผ่อน
มาก เพราะอุปนิสัยไม่ค่อยขยันท�
ำงานและชอบเสียงเพลงเสียงดนตรีนั่
นเอง หาก
มี
อาหารอยู่เขาจะจั
บกลุ่มคุ
ยกั
น หรื
อพั
กผ่อนเสี
ยทั้
งวั
น หรื
อไม่ก็
หาไม้ไผ่ล�
ำใหญ่ๆ
และกะลา มาท�ำเครื่องดนตรีเล่นกันในยามแดดร่มลมตก หรือเวลาที่ล่าสัตว์ใหญ่
มาได้ เครื่
องดนตรี
ที่
ท�
ำเล่นกั
นมี
อยู่ไม่กี่
ชนิ
ด และล้วนแต่เป็นประเภทให้จั
งหวะโดย
การเคาะ หรื
อตี
ทั้
งสิ้
น เครื่
องดนตรี
ที่
ให้ท�
ำนองนั้
นไม่มี
เวลาที่
เล่นดนตรี
ร้องร�
ำท�
ำ
เพลง สนุ
กสนานกั
นนั้
นมั
กจะเป็
นเวลาเย็
น เขาจะก่
อกองไฟไว้
กองหนึ่
งในบริ
เวณลาน
กลางทั
บ แล้วสร้างกระโจมใบไม้ขึ้
นกระโจมหนึ่
ง ทุ
กคนนั่
งล้อมกองไฟ นั
กดนตรี
ก็
นั่
งอยู่หมู่หนึ่
งในบริ
เวณรอบกองไฟ พอดนตรี
เริ่
มเคาะเริ่
มตี
คนอื่
นๆ ก็
ปรบมื
อ โยก
ตั
ว หรื
อลุ
กขึ้
นเต้นตามจั
งหวะ เพลงใดมี
การร้อง นั
กร้องจะออกจากวงเข้าไปอยู่ใน
กระโจม แล้วโผล่หน้ามาร้องเพลง เพลงส่วนใหญ่ได้รั
บอิ
ทธิ
พลจากมาเลเซี
ย หรื
อ
ลิ
เกฮูลูของชาวมุ
สลิ
ม แต่บางคนก็
ร้องเพลงลูกทุ่งไทย (ไพบูลย์ ดวงจั
นทร์ : 2523)