Previous Page  133 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 133 / 326 Next Page
Page Background

132

สืบโยดสาวย่าน

ตั้งถิ่นฐานของซาไกขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น เมื่อพืชและ สัตว์บริเวณใกล้

เคียงลดจ�ำนวนลงต้องออกไปหาอาหารไกลๆ หรือเปลี่ยนฤดูกาล เนื่องจากระบบ

นิ

เวศน์

ในธรรมชาติ

สั

มพั

นธ์

กั

บวงจรหรื

อห่

วงโซ่

อาหารและการท�

ำมาหากิ

นของซาไก

หรื

อเมื่

อเกิ

ดโรคระบาด มี

การ ตายเกิ

ดขึ้

น ซึ่

งนอกจากจะกลั

วติ

ดโรคแล้

วยั

งเป็

นกลุ่

ชนที่

กลั

วผี

มาก หรื

อหากนอนไม่หลั

บ ฝันร้าย มี

บุ

คคลต่างกลุ่มเข้ามารบกวน หรื

เอ่ยปากขอลูก ก็

จะอพยพหนี

เพราะเชื่

อว่าจะโชคร้ายหรื

อลูกจะตาย

ท�

ำเลที่

ซาไกเลื

อกเป็

นที่

ตั้

งถิ่

นฐานจะต้

องมี

ลั

กษณะเป็

นป่

า อยู่

ไกลจากที่

อยู่ของชาวบ้านต่างกลุ่ม เป็นที่ราบหรือที่ราบบนหุบเขาที่มีลานกว้างส�ำหรับสร้าง

ที่พักและท�ำกิจกรรมต่างๆ ซึ่งมักจะรวมกลุ่มกันท�

ำ หากเป็นที่พักชั่วคราวส�ำหรับ

ล่าสั

ตว์จะต้องอยู่บนเนิ

นหรื

อควน โดยสร้างทั

บล้อมรอบแล้วปล่อยที่

ว่างตรงกลาง

ส�

ำหรั

บท�

ำกิ

จกรรม จะต้

องอยู่

ใกล้

แหล่

งน�้

ำ จะต้

องเป็

นแหล่

งที่

มี

ทรั

พยากรธรรมชาติ

สมบูรณ์

และจะต้

องสั

มพั

นธ์

กั

บความเชื่

อ เช่

น เป็

นแหล่

งที่

นอนหลั

บสบายไม่

ฝั

นร้

าย

(อาภรณ์ อุ

กฤษณ์ : 2536)

ลั

กษณะการตั้

งถิ่

นฐานของซาไกจึ

งขึ้

นอยู่

กั

บองค์

ประกอบด้

านระบบนิ

เวศน์

สั

งคม เศรษฐกิ

จและแบบแผนวั

ฒนธรรมที่

เชื่

อมโยงเข้

าด้

วยกั

นจนก่

อให้

เกิ

ดรูปแบบ

การตั้

งถิ่

นฐานดั

งกล่าว (สุ

ริ

นทร์ ภู่ขจรและคณะ : 2534)

จ�

ำนวนประชากรกลุ

มชาติ

พั

นธุ

ซาไก ทั้

ง 4 กลุ

ม จากการส�

ำรวจของ

ไพบูลย์

ดวงจั

นทร์

(2546) รวมทั้

งสิ้

น 200-250 คน และจากการส�

ำรวจของ

อาภรณ์ อุ

กฤษณ์(2536) ในปี พ.ศ.2534-2536 เฉพาะกลุ่มเหนื

อคลองตงและกลุ่ม

เครื

อญาติ

บริ

เวณใกล้

เคี

ยง มี

จ�

ำนวนประชากรประมาณ 109 คน เข้

าใจว่

าการ

ศึ

กษารายละเอี

ยดด้

านความเชื่

อ และประเพณี

พิ

ธี

กรรมของซาไก มี

ข้

อจ�

ำกั

ทั้

งในด้

านภาษา การเข้

าถึ

งพื้

นที่

และการต้

องอาศั

ยในพื้

นที่

เป็

นระยะเวลานาน

เพื่

อศึ

กษาข้

อมูลภาคสนามด้

วยการสั

งเกตและมี

ส่

วนร่

วม จึ

งไม่

ปรากฏงานวิ

จั

ด้

านความเชื่

อและประเพณี

พิ

ธี

กรรมโดยตรงแต่

มี

ข้

อมูลเบื้

องต้

นด้

านประเพณี

พิ

ธี

กรรม ที่

ได้

จากค�

ำบอกเล่

า หรื

อการเข้

าไปมี

ส่

วนร่

วมบ้

าง แทรกอยู่

ในงาน

วิ

จั

ย หรื

อบทความ สารคดี

บางเรื่

องที่

เป็

นกรณี

ศึ

กษาซาไก อ�

ำเภอประเหลี

ยน