Previous Page  136 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 136 / 326 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

135

ด้านการศึกษา เมื่อเทียบกับเด็กชาวเลและกลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆ ทางภาคใต้

ของไทย กล่าวได้ว่าเด็กซาไกบางกลุ่มแทบจะไม่ได้เรียนหนั

งสือเลย เนื่องจากวิถี

ชี

วิ

ตที่

เร่

ร่

อนอยู่

ไม่

เป็

นที่

ที่

พั

กอาศั

ยห่

างไกจากชุ

มชน และพ่

อแม่

ไม่

เห็

นความส�

ำคั

ของการศึ

กษา ประกอบกั

บความหวาดระแวงว่

าบุ

คคลภายนอกจะท�

ำร้

าย หรื

พรากลูกไปจากกลุ่ม จะมีบ้างที่

ต�

ำรวจชายแดนเข้าไปสอนหนั

งสื

อให้ เช่นที่

ธารโต

และกลุ่

มที่

พั

กอาศั

ยใกล้

หมู่

บ้

านการศึ

กษาของซาไกจึ

งเป็

นการเรี

ยนรู้

ที่

จะด�ำรงชี

วิ

อยู่กั

บธรรมชาติ

มากกว่า ดั

งผลการศึ

กษาที่

ว่า เด็

กผู้ชายซาไกจะเริ่

มเรี

ยนรู้การก่อ

ไฟ เมื่

ออายุ

ประมาณ 4-5 ขวบ เมื่

อก่อไฟเป็นพ่อแม่จะสร้างทั

บให้อยู่ส่วนตั

วใกล้ๆ

กั

บทั

บตน แล้

วเริ่

มเรี

ยนรู้

วิ

ธี

การเป่

า บอเลา (ลูกดอก) จากพ่

อและญาติ

พี่

น้

องผู้

ชาย

จนกระทั่

งเป่

าเป็

นจึ

งติ

ดตามสมาชิ

กในกลุ่

มไปล่

าสั

ตว์

ส่

วนผู้

หญิ

งอยู่

กั

บพ่

อแม่

จนโต

เป็

นสาว หรื

อแยกทั

บเมื่

อพร้

อมที่

จะหุ

งหาอาหารเองได้

แต่

ส่

วนใหญ่

ลูกโสดแยกทั

แล้

วจะกิ

นอาหารร่

วมกั

บพ่

อแม่

จนแต่

งงานจึ

งแยกครั

ว เด็

กผู้

หญิ

งจะติ

ดตามแม่

และ

ญาติ

พี่

น้องผู้หญิ

งไปขุ

ดมั

น เก็

บหาผั

ก ผลไม้ป่า แต่บางครั้

งหากเดิ

นทางไปทั้

งกลุ่ม

ผู้หญิ

งจะช่วยล่าสั

ตว์ด้วย ผู้หญิ

งบางคนขว้างนกที่

เกาะบนต้นไม้ได้แม่นย�

ำ แต่ไม่

เคย พบเห็

นผู้หญิงเป่าบอเลาหรื

อลูกดอก (อาภรณ์ อุ

กฤษณ์ : 2536)

ด้านภาษา ซาไกมีแต่ภาษาพูดไม่มีภาษาเขียน จากรายงานผลการศึกษา

ระบบเสียงของซาไก พบว่าหน่วยเสียงภาษาซาไกแต็นแอ็น ประกอบด้วย หน่วย

เสียงพยัญชนะ 22 หน่วยเสียง หน่วยเสียงสระ 11 หน่วยเสียง เป็นสระเดี่ยว 9

หน่วยเสี

ยง และสระประสม 2 หน่วยเสี

ยง นอกจากนี้

ยั

งพบว่า ภาษาซาไกแต็

นแอ็

นที่

อ�

ำเภอปะเหลี

ยน จั

งหวั

ดตรั

ง มี

เสี

ยงสระนาสิ

กปรากฏอยู่ด้วย แต่ไม่สามารถ

ตัดสินว่

าเป็

นหน่

วยเสียงสระหรือไม่

เพราะข้อมูลจ�

ำกัด ในด้านพยางค์ ภาษาซา

ไกแต็

นแอ็

นมี

3 แบบ คื

อ พยางค์หลั

ก (Major Syllable) พยางค์รอง (Minor Syl-

lable) และพยางค์น�

ำ (Presyllable) โครงสร้างของค�

ำในภาษาซาไกแต็นแอ๊น มี 3

แบบ คื

อ ค�

ำพยางค์

เดี

ยว ค�ำสองพยางค์

และค�ำสามพยางค์

ค�ำในภาษาซาไกแต็

แอ็

นประกอบด้วย การเน้นเสี

ยง (Stress)ในการประกอบค�

ำขึ้

นเป็นวลี

หรื

อประโยค

จะมี

เรื่

องกลุ่มท�

ำนองเสี

ยง (Intonation) เข้ามาเกี่

ยวข้อง โดยแบ่งกลุ่มท�

ำนองเสี

ยง