งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้
131
ญาเงาะใช้
ขี้
ผึ้
งจากรั
งผึ้
งที่
เลี้
ยงไว้
ท�
ำแท่
นนั่
ง รอบๆ แท่
นมี
ล�
ำธารหลายสายซึ่
งเป็
นต้
น
น�้
ำล�
ำธารที่
ไหลลงสู่
โลกมนุ
ษย์
ญาเงาะมี
ดวงจั
นทร์
เป็
นดวงตาคอยสอดส่
องดูแล
ทุ
กข์
สุ
ขของมนุ
ษย์
และมอบหมายให้
เพื่
อนคู่
ใจที่
มี
ลั
กษณะคล้
ายงูตั
วใหญ่
ยาว
แผ่นหลั
งสี
เขี
ยว ท้องสี
แดง ชื่
อว่า “ตั
วฮู่” หรื
อ “ฮุ้ง” หมายถึ
ง รุ้งกิ
นน�้ำ ท�
ำหน้าที่
ดูแลรั
กษาต้
นน�้
ำบนฟ้
า รั
กษาล�
ำธาร และท�
ำหน้
าที่
น�
ำฝูงผึ้
งลงมาหาน�้
ำหวานในป่
า
(อาภรณ์ อุ
กฤษณ์ : 2536, สุ
วั
ฒน์ เชื้
อหอม : 2538 และ จิ
รวดี
อ่อนวงศ์ : 2534)
ต�ำนานหรือนิ
ทานเรื่องนี้ แม้รายละเอียดของเนื้อหาแต่ละส�
ำนวนแตกต่าง
กั
นไปบ้
างแต่
มี
ประเด็
นเรื่
องราวที่
เชื่
อมโยงไปสู่
ค�ำตอบ เกี่
ยวกั
บข้
อสงสั
ยหรื
อค�
ำถาม
เรื่
องจั
กรวาลในความเชื่
อ ของกลุ่
มชาติพั
นธุ
์
ซาไกซึ่
งมี
วิ
ถีชี
วิ
ตที่
ผูกพั
นกั
บสิ่
งเหนื
อ
ธรรมชาติ
เป็นต้นว่า คนมาจากไหน คนตายแล้วไปไหน ข้างขึ้
นข้างแรมเกิ
ดขึ้
นได้
อย่างไร รุ้งกิ
นน�้
ำมาจากไหน ฝนตก ฟ้าร้องเกิ
ดขึ้
นได้อย่างไรแม้กระทั่
งข้อสงสั
ยที่
ว่
าท�ำไมพวกเขาจึงมี
ผิวด�ำ ก็
มีเรื่
องเล่
าว่
าเกิ
ดจากเมืองลั
งกาถูกเผา พวกสั
ตว์
ป่
า
หลายชนิ
ด รวมทั้
งบรรพบุ
รุ
ษของพวกเขาถูกไฟไหม้
จนตั
วด�
ำต้
องวิ่
งหนี
เข้
ามาอาศั
ย
ในป่า นอกจากนั้
น ยั
งมี
ต�
ำนานความเชื่
อ และเรื่
องเล่าหรื
อค�
ำพูดที่
บ่งบอกถึ
งการ
มีคุณธรรมจริยธรรม เป็นต้นว่า ใบไม้บางชนิ
ดที่มีหลายแฉก เช่น ใบกระพ้อ ใบ
ต้นแป้ง ใบต้นกระหนามเสื
อ ฯลฯ เชื่
อกั
นว่าชาติ
ที่
แล้วเป็นพวกซาไกที่
เห็
นแก่ตั
ว
หาอาหารได้แล้วไม่แบ่งปันผู้อื่
นและชอบแย่งชิ
งอาหารผู้อื่
นกิ
น (สุ
วั
ฒน์ เชื้
อหอม :
2538) หรื
อการที่
พวกเขาไม่
ฆ่
าคนทั้
งที่
รู้
ว่
าเป็
นผู้
ที่
รั
งแกพวกเขาเพราะ “คนกิ
นไม่
ได้
”
(อาภรณ์ อุ
กฤษณ์ : 2536)
กลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ซาไก อาศั
ยกระจายอยู่
ทางภาคใต้
ฝั
่
งตะวั
นตกของแหลม
มลายู ตั้
งแต่
จั
งหวั
ดตรั
ง พั
ทลุ
ง สตูล ตลอดแนวเทื
อกเขาบรรทั
ด ไปจรดจั
งหวั
ดยะลา
นราธิ
วาส ปัตตานี
เรื่
อยลงไปจนถึ
งรั
ฐปาหั
ง แประ กะลั
นตั
น ประเทศสหพั
นธรั
ฐ
มาเลเซี
ยตลอดจนบอเนี
ยวและเกาะสุ
มาตรา ประเทศมาเลเซี
ย (สุ
วั
ฒน์ หอมเชื้
อ :
2536) มี
ผลงานที่
กล่าวถึ
งการอพยพโยกย้ายและการตั้
งถิ่
นฐานของซาไกว่า ซาไก
กลุ่มหนึ่
งมี สมาชิ
กประมาณ 4-40 คน ตั้
งทั
บชั่
วคราวแต่ละแห่ง กลุ่มละประมาณ
2-15 ทั
บ พร้อมที่
จะอพยพเคลื่
อนย้าย ไปที่
อื่
นตลอดเวลา การอพยพโยกย้ายและ