Previous Page  131 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 131 / 326 Next Page
Page Background

130

สืบโยดสาวย่าน

• ประเด็นศึกษาด้านการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรมและการปรับ

ตั

ว มี

7 เรื่

อง เป็น การศึ

กษากลุ่มแต็

นแอ๊น (กั

นซิ

ว) จั

งหวั

ดตรั

ง 5 เรื่

อง

กลุ่มกั

นซิ

วจั

งหวั

ดยะลา 1 เรื่

อง และซาไกทุ

กกลุ่ม 1 เรื่

อง

• เนื้อหากลุ่มอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ ไม่ปรากฏผลงานที่ศึกษาโดยตรง

แต่สอดแทรกในข้อมูลเบื้

องต้นของเรื่

องอื่

นๆ

จากการแบ่

งประเด็

นศึ

กษาดั

งกล่

าวพบว่

ามี

หลายประเด็

นที่

ไม่

มี

ผลงาน

ศึกษาโดยตรงแต่

จะปรากฏในผลงานที่

มุ

งศึกษาประเด็

นอื่

นๆ หรือประเด็

นศึกษา

ปรากฏการณ์และวิถีชีวิตโดยรวม ได้แก่ ประเด็นการศึกษาประวัติศาสตร์ นิ

ทาน

ต�

ำนาน ประเพณี

ความเชื่

อ พิ

ธี

กรรม นั

นทนาการ ครอบครั

ว เครื

อญาติ

และการ

จั

ดระเบี

ยบสั

งคม ระบบเศรษฐกิ

จ การจั

ดการทรัพยากร บางประเด็

นมี

ทั้

งที่

ศึ

กษา

เฉพาะและสอดแทรกตามผลงานอื่

นๆ

ด้

านประวั

ติ

ศาสตร์

และโบราณคดี

มี

ผลการศึ

กษาชาติ

พั

นธุ์

วรรณนาทาง

โบราณคดี

ด้

วยการผสมผสานระหว่

างการศึ

กษาด้

วยเทคนิ

ควิ

ธี

การเชิ

งมานุ

ษยวิ

ทยา

และการปฏิ

บั

ติ

การภาคสนาม (pragmatism) เพื่

อส�

ำรวจหาวั

ฒนธรรมร่

วมยุ

โหบิ

นเนี

ยน โดย ศ.ดร.สุ

ริ

นทร์ ภู่ขจร และนั

กวิ

ชาการผู้เชี่

ยวชาญสาขาต่างๆ เป็น

นั

กวิ

จั

ยร่

วม ใช้

แนวคิ

ดทฤษฎี

ด้

านชาติ

พั

นธุ์

วรรณนาทางโบราณคดี

มี

การขุ

ดค้

นทาง

โบราณคดี

และน�

ำตั

วอย่

างวั

ตถุ

ที่

ขุ

ดค้

นได้

มาตี

ความโดยนั

กวิ

ชาการที่

เชี่

ยวชาญ

สาขาต่างๆ เช่น โรคโบราณ ละอองเกสรโบราณ ตั

วอย่างหอย ตั

วอย่างภาชนะดิ

เผา สะเก็

ดหิ

น เป็นต้น ซึ่

งนอกจากจะได้รวบรวมองค์ความรู้จากการศึ

กษาของนั

วิชาการหลากหลายสาขาแล้ว ยังสามารถศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมของซาไก

ปั

จจุ

บั

นและหลั

กฐานจากการขุ

ดค้

นทางโบราณคดี

กั

บมนุ

ษย์

ยุ

คก่

อนประวั

ติ

ศาสตร์

เช่

น พฤติ

กรรมการกิ

นและการทิ้

งเศษอาหารของซาไก (สุ

ริ

นทร์

ภู่

ขจรและคณะ : 2534)

ด้านนิทาน ต�ำนานของซาไกที่ปรากฏในผลงานเรื่องอื่นๆ

ส่

วนใหญ่

เกี่

ยว

กับนิ

ทานต�ำนานที่เล่

ากันในกลุ่

มซาไก อ�

ำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง เช่น เรื่องที่

เล่

าถึ

ง“ญาเงาะ” ภรรยาของพระอาทิ

ตย์

อาศั

ยอยู่

บนฟ้

าทางทิ

ศตะวั

นออก เป็

ผู้ให้ก�ำเนิ

ดพืชพรรณทุกชนิ

ดในป่า รวมถึงมนุษย์เผ่าพันธุ์ “มันนิ” และสัตว์คู่แรก