งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ
77
เสี
ยงส่
วนน้
อยที่
เป็
นชายขอบของสั
งคม เลื
อกที่
จะนิ
ยามตนกั
บคุ
ณค่
าที่
ถูกปฏิ
เสธจาก
วั
ฒนธรรมกระแสหลั
ก มี
งานวิ
จั
ยที่
มุ
่
งศึ
กษาวั
ฒนธรรมกระแสรองดั
งกล่
าวอยู่
หลายชิ้
น
งานของสุ
ริ
ยาและคณะ (2541) มองลิ
เกในกรอบของ “วั
ฒนธรรมประชา” (popular culture)
โดยใช้กรอบมโนทั
ศน์หลั
งสมั
ยใหม่มาอ่านและประเมิ
นค่าลิ
เก และมองลิ
เกเป็นพื้
นที่
ในการต่อรองระหว่างวัฒนธรรมหลวงและวัฒนธรรมราษฎร์ แม้วัฒนธรรมหลวงจะ
ดูแคลนลิ
เก แต่วั
ฒนธรรมประชาก็
มิ
ใช่คู่ตรงข้ามกั
บวั
ฒนธรรมหลวง ที่
น่าสนใจก็
คื
อ
ผู้
วิ
จั
ยมิ
ได้
จ�
ำแนกให้
ลิ
เกเป็
นประเภทหนึ่งของวั
ฒนธรรมพื้
นบ้
าน หรื
อวั
ฒนธรรม
เฉพาะถิ่
น เนื่
องจากผู้วิ
จั
ยเห็
นว่า ในแง่ของต้นเค้าก�
ำเนิ
ด ลิ
เกอุ
บั
ติ
ขึ้
นจากการพั
ฒนา
รูปแบบและการผสมผสานระหว่
างบทสวดของแขกอิ
สลามและบทสวดพระมาลั
ย
ลิ
เกจึ
งมิ
ได้
เป็
นสมบั
ติ
ของถิ่
นใดถิ่
นหนึ่
งเป็
นการเฉพาะ แม้
ในแต่
ละที่
จะมี
การประยุ
กต์
ให้
เข้
ากั
บความนิ
ยมเฉพาะถิ่
นนั้
นๆ ก็
ตาม ผู้
วิ
จั
ยจึ
งจั
ดให้
ลิ
เกอยู่
ในหมวดวั
ฒนธรรมประชา
ซึ่
งนอกจากจะเป็
นศิ
ลปะที่
ประชาชนเป็
นเจ้
าของ ผู้
ผลิ
ต และผู้
เสพแล้
ว ยั
งมี
การปรั
บตั
ว
ให้
โอบรับเอาความทันสมัยในแง่
ต่างๆ เข้
ามาด้
วย วัฒนธรรมดั้งเดิมจึงปนเปไปกับ
ความเป็นสมั
ยใหม่ในลิ
เก
ผู้วิจัยยังประยุกต์มโนทัศน์ร่างอุจาด (grotesque body) ของมิคาเอล บัคติน
(Mikhail Bakhtin) มาใช้
วิ
เคราะห์
การที่
ลิ
เกแสดงออกอย่
างตรงไปตรงมาถึ
งความเป็
นจริ
ง
ของชี
วิ
ตจากกิ
จกรรมพื้
นๆ เช่
น ขั
บถ่
าย หรื
อการร่
วมเพศ ซึ่
งถูกกดบั
งคั
บและนิ
ยามเป็
น
ความอุ
จาดในวั
ฒนธรรมชั้
นสูง นอกจากบนเวที
แล้
ว นอกเวที
ลิ
เกแม่
ยกที่
มี
ฐานะบางคน
ยั
งนิ
ยมตามจี
บและมี
เพศสั
มพั
นธ์
กั
บพระเอกลิ
เกด้
วย นี่ก็
นั
บเป็
นการแหวกจารี
ต
ประเพณี
ของผู้
หญิ
งที่
ดี
เช่
นกั
น การแสดงกิ
จกรรม “อุ
จาด” ต่
างๆ ทั้
งบนเวที
หรื
อนอกเวที
จึ
งท�
ำให้ร่างกายนั้
นมี
นั
ยยะทางการเมื
องของการท้าทายและมองโลก จากการหกหั
ว
กลั
บด้
านของค่
านิ
ยมหลั
กทางสั
งคม มโนทั
ศน์
การวิ
จั
ยดั
งกล่
าวจึ
งท�
ำให้
ผู้
อ่
านมองลิ
เก
เสี
ยใหม่ ว่ามี
ศั
กยภาพเชิ
งท้าทายอุ
ดมการณ์และค่านิ
ยมหลั
กของสั
งคม
นอกจากนี้
ยั
งมี
งานน่
าสนใจในแนวประวั
ติ
ศาสตร์
วิ
พากษ์
อี
กชิ้
นหนึ่
ง
ที่
ศึ
กษาการตี
ความความหมายของชื่
อเมื
องโบราณคื
อ “หริ
ภุ
ญไชย” และ
“ล�
ำพูน” (เพ็
ญสุ
ภา, 2548) เนื่
องจากมี
การตี
ความหมายของค�
ำทั้
งสองต่
างกั
นไป