Previous Page  84 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 84 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

83

ความยืดหยุ

นมากขึ้

น โดยตระหนั

กว่

า ความเข้

มแข็

งที่แท้

จริงของวั

ฒนธรรมมิ

ได้

ขึ้นอยู่กับความพยายามตีกรอบจ�ำกัดตนเอง และขจัดสิ่งแปลกปลอมที่ขัดแย้งกับ

ค�

ำนิ

ยามของระบบคุ

ณค่

าของตนออกไป ความเข้

มแข็

งที่

แท้

จริ

งขึ้

นอยู่

กั

บว่

าแม้

จะพบกับการท้าทาย หากวัฒนธรรมใดสามารถโอบเอาความแตกต่างเข้ามาหรือ

หาวิ

ธี

อยู่

กั

บความแตกต่

างได้

โดยไม่

เป็

นปฏิ

ปั

กษ์

จึ

งนั

บว่

าวั

ฒนธรรมนั้

มี

ความเข้

มแข็

งที่

แท้

จริ

ง หากเราไม่

รู้

เท่

าทั

นกระบวนการทางวั

ฒนธรรม หลาย

กรณี

การณ์

กลายเป็

นว่

า เราก�

ำลั

งใช้

วั

ฒนธรรมเป็

นเครื่

องมื

อของความรุ

นแรง ไม่

ว่

จะเป็นความรุนแรงเชิงกายภาพหรือเชิงสัญลักษณ์เพื่อจัดการกับ “ความเป็นอื่น”

เรากลั

วว่

า “ความไม่

ไทย” นั้

นจะมาคุ

กคามเรา แต่

ดูเราจะไม่

สนใจเวลาที่

เราบริ

โภค

“ความเป็นอื่

น” ในบางลั

กษณะเช่น เครื่

องส�

ำอางของนอก

ดั

งนั้น การสร้

างความเข้

มแข็

งทางวั

ฒนธรรมจึ

งมิ

ใช่

การพยายามบั

งคั

ให้ต้องเคารพธงชาติ และการอนุรักษ์ก็มิใช่การตอกย�้ำที่ตัวรูปแบบทางวัฒนธรรม

หรื

อตอกย�้

ำจิ

ตส�

ำนึ

กให้

ยึ

ดติ

ดความเป็

นไทยตรงรูปแบบ การสร้

างความเข้

มแข็

น่

าจะมาจากการปลูกฝั

งให้

มี

การใคร่

ครวญมองตนอย่

างใจกว้

างและลึ

กซึ้

ทางวั

ฒนธรรม สนั

บสนุ

นให้

เรามี

ศั

กยภาพที่

จะมองตนเองได้

จากเหลี่

ยมมุ

มที่

ต่างออกไปจากจุ

ดที่

เรายื

นอยู่ มี

ความพร้อมที่

จะรั

บฟังความเห็

นต่าง และมองเห็

ว่าวัฒนธรรมเป็นเรื่องของกระบวนการสนทนาต่อรองและกระบวนการปรับเปลี่ยน

อั

ตลั

กษณ์ที่

เปลี่

ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา