Previous Page  79 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 79 / 272 Next Page
Page Background

78

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

หลากหลายแนว รวมถึ

งวิ

ธี

สะกดค�

ำว่

า “หริ

ภุ

ญไชย” และ “หริ

ภุ

ญชั

ย” ว่

าอย่

างไหนแน่

ที่

ถูกต้

อง ในประเด็

นความหมายของชื่

อเมื

องนั้

น มี

ทฤษฎี

ที่

ตี

ความต่

างกั

นไป

หลายแนว สรุปลงได้เป็นความต่างใหญ่ๆ สามแนว แนวแรกตีความว่าชื่อเมืองนี้

เกี่

ยวข้

องกั

บประวั

ติ

พระนางจามเทวี

ตอนที่

มี

การอภิ

เษกพระนางบนกองทอง

(หริ

=ทองค�

ำ, ปุ

ญเช=กองเนิน) แนวที่

สอง ตี

ความโดยสั

มพั

นธ์

กั

บอิ

ทธิ

พลของ

พุ

ทธศาสนาในดิ

นแดนแถบนี้

เพราะปราชญ์

ท้

องถิ่

นบางท่

านเสนอค�

ำแปลว่

หริตะ=ผลสมอ, ภุญชะ=การกิน ดังนั้

นเมืองนี้

น่าจะเป็นสถานที่ที่พระพุทธเจ้าเคย

ประทั

บฉั

นลูกสมอตามคติ

ความเชื่

อของล้

านนาในเรื่

องการเสด็

จมาของพระพุ

ทธเจ้

ในแถบนี้

ซึ่

งหยั่

งรากฝั

งลึ

กและปรากฏในต�

ำนานท้

องถิ่

นหลายฉบั

บ ส่

วนการตี

ความ

แบบที่สาม หริ=พระนารายณ์, ปัญจ์ชยะ=หอยสังข์ การตีความแนวนี้

ขัดแย้งกับ

กลุ

มที่

สองเป็

นอย่

างมากเพราะเสนอว่

าอิ

ทธิพลทางวัฒนธรรมของฮิ

นดูต่

างหากที่

ฝังรากหยั่

งลึ

กในแถบนี้

มิ

ใช่วั

ฒนธรรมพุ

ทธ โดยมี

หลั

กฐานอื่

นๆ ที่

สนั

บสนุ

น เช่น

ผั

งเมื

องล�

ำพูนที่

มี

รูปร่

างคล้

ายหอยสั

งข์

ตลอดจนชื่

อเมื

องโบราณอี

กหลายแห่

งที่

ขึ้

นต้นด้วย “หริ

” เช่นกั

ความขัดแย้งในการตีความดังกล่าวมีมานานก่อนหน้าการตีพิมพ์งานชิ้นนี้

และเป็

นความขั

ดแย้

งที่

ยากลงเอยได้

เพราะนอกจากแต่

ละฝ่

ายจะพยายาม

หาหลั

กฐานมาสนั

บสนุ

นการตี

ความของตนแล้

ว ประเด็

นนี้

ยั

งเกี่

ยวข้

องกั

บความรู้

สึ

ละเอี

ยดอ่

อนของคนปั

จจุ

บั

นที่

มี

ต่

ออดี

ตของตน ชาวล้

านนาที่

นิ

ยามความเป็

นล้

านนา

กั

บความรุ

งเรื

องของพุ

ทธศาสนาย่

อมยากที่

จะยอมรั

บอดี

ตแห่

งความรุ

งเรื

องของ

วัฒนธรรมพราหมณ์ ส่วนผู้ที่นิยามล�ำพูนกับต�ำนานพระนางจามเทวีก็ย่อมผูกพัน

กับการตีความแบบแรก การตีความอดีตกลับกลายเป็นการเมืองของความทรงจ�

ของคนปั

จจุ

บั

น อดี

ตในความเป็

นจริ

งจะเป็

นเช่

นไรอาจไม่

ส�

ำคั

ญเท่

ากั

บว่

คนปั

จจุ

บั

นต้

องการมองอดี

ตตนเช่

นไร จุ

ดที่

น่

าสนใจของหนั

งสื

อเล่

มนี้

อยู่

ที่

ว่

า เมื่

อเรื่

อง

นี้

ก่อกระแสความระคายเคืองในความรู้สึกของผู้คนที่เกี่ยวข้อง ผู้รวบรวมงานชิ้นนี้

จึงใช้

วิ

ธีการจัดเวที

เสวนาสาธารณะแบบประชาพิ

จารณ์

เชิงวิ

ชาการหลายครั้

งโดย

ระดมผู้เชี่ยวชาญหลากแขนง ทั้งนั

กประวัติศาสตร์ นั

กนิรุกติศาสตร์ ผู้เชี่ยวชาญ

การปริ

วรรตอั

กขระโบราณ นั

กล้

านนาคดี

นั

กมานุ

ษยวิ

ทยา ผู้

เชี่

ยวชาญประวั

ติ

ศาสตร์