Previous Page  76 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 76 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

75

แอนดี้

วาร์

โฮล (Andy Wahrhol) ที่

ตั้

งค�

ำถามว่

าศิ

ลปะคื

ออะไรด้

วยการน�

ำโถปั

สสาวะ

ส�

ำเร็

จรูปและกล่องใส่สบู่มาวางกระแทกความรู้สึ

กของผู้ชมในแกลเลอรี

นอกจากศิ

ลปิ

นชายแล้

ว บั

ณฑิ

ตยั

งคั

ดเลื

อกงานของศิ

ลปิ

นหญิ

งมาอ่

านใหม่

ด้วย อารยา ราษฎร์จ�

ำเริ

ญสุ

ขจากมหาวิ

ทยาลั

ยเชี

ยงใหม่ ก่อให้เกิ

ดกระแสวิ

พากษ์

ในหมู่

นั

กวิ

จารณ์

งานศิ

ลปะเมื่

อเธอน�

ำเอาศพของจริ

งมาเป็

นองค์

ประกอบส�

ำคั

ญของ

งานศิ

ลปะ มี

ภาพชุ

ดในวี

ดิ

โอที่

อารยาอ่

านบทกวี

จากเรื่

อง “อิ

เหนา” ให้

ศพผู้

หญิ

งฟั

เป็นบทกวีที่ร�ำพึงร�ำพันแสดงความอาลัยต่อการสูญเสียความรัก วิดิโออีกชุดหนึ่

ฉายภาพอารยาเดินช้าๆ อ่านบทกวีท่ามกลางศพที่นอนเรียงราย มีผู้ตั้งค�ำถามว่า

นี่

เป็

นการละเมิ

ดสิ

ทธิ์

ของผู้

ตายหรื

อไม่

ผู้

บริ

จาคศพเพื่

อการศึ

กษาทางการแพทย์

คงคาดไม่

ถึ

งว่

าร่

างของพวกเธอจะต้

องกลายมาเป็

นวั

ตถุ

ทางศิ

ลปะ เป็

นวั

ตถุ

แห่

การจ้

องมองของคนเป็

น นี่

เป็

นค�

ำถามเชิ

งศี

ลธรรม ขอบเขตและความสั

มพั

นธ์

ระหว่างงานศิ

ลปะและศี

ลธรรมอยู่ตรงไหน บั

ณฑิ

ตเองก็

เห็

นด้วยว่างานของอารยา

ชี้

ให้เห็

นความสั

มพั

นธ์เชิ

งอ�

ำนาจที่

ไม่เท่าเที

ยมระหว่างคนเป็นและคนตาย

อย่างไรก็

ตามยั

งมี

ประเด็

นอื่

นด้วย บั

ณฑิ

ตอ่านงานของอารยาด้วยแว่นของ

จูดิ

ธ บั

ทเลอร์

(Judith Butler) นั

กสตรี

นิ

ยมแนวหลั

งสมั

ยใหม่

ที่

ไถ่

ถอนการยึ

ดติ

กั

บสารั

ตถะแห่

งความเป็

นเพศสภาพด้

วยมโนทั

ศน์

“ศั

กยภาพแห่

งการแสดง”

(performativity) ค�

ำค�

ำนี้

จงใจให้

มี

นั

ยยะต่

างจากค�

ำว่

า “การแสดงออก” (expression)

ซึ่

งแฝงการอ้

างอิ

งถึ

งอะไรบางอย่

างที่

มี

มาอยู่

ก่

อนข้

างในตั

วคน อาจเป็

นความนึ

กคิ

หรื

ออารมณ์

ลึ

กๆ ที่

เป็

นตั

วตนแก่

นแท้

หรื

อเอกลั

กษณ์

บางอย่

างซึ่

งถูกแสดงออก

มาให้เห็นด้านนอก แต่มโนทัศน์ “ศักยภาพแห่งการแสดง” ท�ำให้เพศสภาพหลุด

ออกจากการผูกติ

ดกั

บความมี

แก่นแกนหรื

อสารั

ตถะด้านใน การแสดงเป็นเพี

ยงชุ

การกระท�

ำซ�้

ำๆ มี

ลั

กษณะคล้

ายพิ

ธี

กรรมตรงที่

มั

นประจุ

ไว้

ด้

วยระบบคุ

ณค่

าบางอย่

าง

การแสดงนี้

มี

ฐานที่

ร่

างกาย และแบบแผนการกระท�

ำซ�้

ำๆ นี่

เองที่

สร้

างแบบแผน

ความเป็นเพศบางอย่

างขึ้นมา เช่

นท�

ำให้

กุลสตรีต้องมีความเคยชินในอากัปกิริยา

แบบหนึ่

งๆ ที่ถือว่าถูกต้องเหมาะสม แต่บัทเลอร์เห็นว่าเนื่องเพราะเพศสภาพเป็น

เพี

ยงการแสดง คนเราจึ

งสามารถปฏิ

เสธการแสดงที่

ถูกยั

ดเยี

ยดมาให้และสามารถ

สร้างการแสดงชุ

ดใหม่ได้เสมอ