Previous Page  81 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 81 / 272 Next Page
Page Background

80

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

แม้จะไม่มากเท่ากลุ่มแรก แต่ก็

มี

ค�ำนิ

ยามศิ

ลปวั

ฒนธรรมที่

ต่างออกไป คื

อมองเห็

เรื่

องดั

งกล่

าวเป็

น “วาทกรรม” หรื

อภาพแทนความจริ

งที่

เกี่

ยวข้

องกั

บความสั

มพั

นธ์

เชิ

งอ�

ำนาจทั้

งอ�

ำนาจในระดั

บมหภาค เช่

นการเมื

องระหว่

างรั

ฐ หรื

อเผ่

าพั

นธุ

ที่

แตกต่

าง

กั

นไปจนถึ

งอ�

ำนาจในระดั

บจุ

ลภาคที่

ควบคุ

มพฤติ

กรรมของปั

จเจก การมอง

แบบหลั

งนี้

จึ

งท้

าทายระบบคุ

ณค่

าร่

วมที่

ทั

ศนะแบบแรกน�

ำเสนอ และไม่

มอง

วั

ฒนธรรมว่

าเป็

นปึ

กแผ่

นแน่

นหนา ตรงข้

าม มั

กเน้

นความขั

ดแย้

งภายในวั

ฒนธรรม

และน�

ำเสนอระบบคุณค่าใหม่ที่

วิ

พากษ์และตั้

งค�ำถามกั

บระบบคุ

ณค่าเดิ

มที่

มี

อยู่

ข้

อเสนอแนะท้

ายบทมี

สองด้

าน ด้

านแรกเป็

นเรื่

องของทิ

ศทางงานวิ

จั

ยเกี่

ยวกั

ศิ

ลปวั

ฒนธรรมที่

น่

าจะสนั

บสนุ

นในอนาคต ด้

านที่

สอง เป็

นเรื่

องของทิ

ศทางเกี่

ยวกั

นโยบายด้

านวั

ฒนธรรมของรั

ฐ ทั้

งสองประเด็

นนี้

คาบเกี่

ยวกั

นอยู่

เนื่

องจากมี

ที่

มาจาก

รากของปั

ญหาเดี

ยวกั

น ผู้

เขี

ยนเห็

นว่

า ปั

ญหาส�ำคั

ญเกี่

ยวกั

บวั

ฒนธรรมในปั

จจุ

บั

นนี้

มี

รากเหง้

าส�

ำคั

ญอย่

างหนึ่

ง นั่

นก็

คื

อ อาการขาดวุ

ฒิ

ภาวะทางวั

ฒนธรรม ซึ่

แสดงออกให้

เห็

นจากวิ

ธี

การที่

สั

งคมหรื

อรั

ฐตอบโต้

ต่

อปั

ญหาทางวั

ฒนธรรมต่

างๆ

ที่

เกิ

ดขึ้

น ในส่

วนภาคสั

งคม เราจะเห็

นการตอบโต้

ด้

วยอารมณ์

รุ

นแรง

ในกรณีที่

สั

ญลั

กษณ์

ทางวั

ฒนธรรมบางอย่

างถูกตั้

งค�

ำถาม ไม่

ว่

าจะเป็

นกรณีที่

นั

กการเมื

องหญิ

งจากภาคกลางเสนอให้

วั

ดทางภาคเหนื

อยกเลิ

กประเพณี

ที่

ห้

าม

ผู้

หญิ

งเข้

าไปในเขตด้

านในของพระธาตุ

หรื

อกรณี

วิ

ทยานิ

พนธ์

ปริ

ญญาโทของ

นั

กศึ

กษาจากมหาวิ

ทยาลั

ยในภาคกลางแห่

งหนึ่

งตั้

งข้

อสั

งเกตเกี่

ยวกั

บความเป็

นมา

ทางประวั

ติ

ศาสตร์

ของท้

าวสุ

รนารี

ว่

า อาจเป็

นเรื่

องของวาทกรรมการสร้

างวี

รสตรี

ก็

ได้

สิ่

งที่

น่

าสนใจก็

คื

อ ท้

องถิ่

นที่

อ้

างความเป็

นเจ้

าของวั

ฒนธรรมมิ

ได้

พยายามหั

กล้

าง

อธิบายประเด็นในเชิ

งข้

อมูลหรือข้

อเท็จจริ

งทางประวั

ติ

ศาสตร์

แต่

กลั

บมีปฏิ

กิ

ริ

ยา

ตอบโต้ด้วยอารมณ์ที่รุนแรงถึงขั้นรวมกลุ่มสาปแช่ง และท�

ำให้กระบวนการศึกษา

หาข้อเท็จจริงในประเด็นนั้

นๆ ถูกกลบหาย กลายเป็นเรื่อง “ของของข้า ใครอย่า

แตะ”

ในส่

วนภาครั

ฐนั้

น อาการขาดวุ

ฒิ

ภาวะทางวั

ฒนธรรมเห็

นได้

ชั

ดจากนโยบาย

เกี่

ยวกั

บวั

ฒนธรรมของรั

ฐเอง นโยบายด้

านวั

ฒนธรรมของรั

ฐมี

สมมติ

ฐานอยู่

ที่