Previous Page  74 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 74 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

73

ทุนนิยม ที่เห็นวัฒนธรรมเป็นสินค้ากับจารีตเก่าที่ให้ความส�ำคัญทางศีลธรรมและ

จิ

ตวิ

ญญาณแก่

งานศิ

ลปะ ผู้

วิ

จั

ยเลื

อกศึ

กษากรณี

ที่

โรงแรมหรูระดั

บห้

าดาวใน

เชี

ยงใหม่

ลอกเลี

ยนแบบซุ

มประตูโขงที่

เก่

าแก่

ของวั

ดไหล่

หิ

นในจั

งหวั

ดล�

ำปางโดยมิ

ได้

ขออนุ

ญาตชาวบ้าน ท�ำให้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์และคัดค้านอย่างกว้างขวางถึง

ความไม่เหมาะสม ที่น�ำเอาสัญลักษณ์ของสิ่งศักดิ์สิทธิ์มาลดทอนคุณค่าเป็นเพียง

เครื่

องประดั

บโรงแรมให้

ดูอลั

งการ เมื่

อเรื่

องท�ำท่

าจะบานปลาย ฝ่

ายเจ้

าของโรงแรมก็

ใช้

กลยุ

ทธ์

หลายอย่

างเพื่

อท�

ำให้

เรื่

องราวสงบลง แนวโน้

มตอนสุ

ดท้

ายดูจะเป็

นชั

ยชนะ

ของฝ่

ายทุ

นที่

เอาใจชาวบ้

านส่

วนหนึ่งด้

วยการบริ

จาคเงิ

นถวายวั

ดของชาวบ้

าน

รวมทั้

งการที่

เจ้

าหน้

าที่

ฝ่

ายรั

ฐก็

เข้

าข้

างนายทุ

นซึ่

งสอดคล้

องกั

บนโยบายการส่

งเสริ

การท่องเที่

ยวอย่างเข้มข้นของรั

ฐที่

สนั

บสนุ

นการขายสิ

นค้าทางวั

ฒนธรรม ปัจจุ

บั

แม้ความขั

ดแย้งจะซาลงไป แต่กรณี

นี้

คงไม่ใช่กรณี

สุดท้ายที่จะเห็นความศักดิ์

สิทธิ์

ถูกท�

ำให้กลายเป็นสิ

นค้า

2.8 ศิลปะกับการท้าทายระบบคุณค่า

ความสั

มพั

นธ์

ระหว่

างศิ

ลปะกั

บสั

งคมในแง่

สุ

ดท้

ายที่

จะกล่

าวถึ

ง ก็

คื

อบทบาท

ของศิลปะในการท้าทายระบบคุณค่าหลักที่มีอยู่ในสังคม และการน�ำเสนอคุณค่า

ใหม่

ๆ ทั้

งคุ

ณค่

าทางสั

งคมตลอดจนค�

ำนิ

ยาม “ความงาม” ของศิ

ลปะ งานวิ

จั

แนวนี้ มักได้แรงบันดาลในเชิงทฤษฎีจากกระแสหลังสมัยใหม่ การวิพากษ์

ความ

สั

มพั

นธ์เชิ

งอ�

ำนาจของศิ

ลปะ

การตั้งค�ำถามกับค�ำนิยามศิลปะเชิงจารีตที่มองศิลปะเป็นที่รวมของคุณค่า

ทางสุ

นทรี

ยะ คงจะเห็

นได้

ชั

ดเจนในงานวิ

จั

ยบั

ณฑิ

ต (Pandit, 2006) ซึ่

งศึ

กษาผลงาน

ของศิ

ลปินร่วมสมั

ยทั้

งที่

กรุ

งเทพฯและภาคเหนื

อ เพื่

อชี้

ให้เห็

นว่างานศิ

ลปะสามารถ

เป็

นปฏิ

บั

ติ

การทางการเมื

องทั้

งในแง่

ของการสถาปนาหรื

อต่

อต้

านอุ

ดมการณ์

ทาง

การเมื

องและวั

ฒนธรรมกระแสหลั

กได้

บั

ณฑิ

ตนิ

ยามอุ

ดมการณ์

ทางวั

ฒนธรรม-

การเมื

องกระแสหลั

กร่

วมสมั

ยของไทยว่

า “Siamese diorama” ซึ่

งชี้

ให้

เห็

นการผนวก