74
กำ�กึ๊ดกำ�ปาก
มโนทั
ศน์
เรื่
องอ�
ำนาจเข้
ากั
บปริ
มณฑลของการมองเห็
น ศั
พท์
ค�
ำว่
า diorama นั้
นมี
ต้
นเค้
า
มาจากเทคนิ
คการน�ำเสนองานศิลปะในปลายศตวรรษที่ 19 ถึงต้นศตวรรษที่ 20
ในยุ
โรปที่
มี
การคิ
ดค้
นเทคนิคที่
ขยายศั
กยภาพและขอบเขตของ “การมองเห็
น”
(visual field) ของผู้เสพย์งานศิ
ลป์ให้ไพศาลยิ่
งขึ้
น เขาขยายความแนวคิ
ดของฟูโกต์
(Foucault) เรื่
องอ�ำนาจที่
มาจากการควบคุมพื้
นที่ของการมองเห็
น และอธิ
บายว่
า
ตัวเทคนิ
คการสร้างภาพนั้
นมีอ�ำนาจเหนือผู้
ชม เพราะเทคนิ
คแต่
ละอย่
างสามารถ
จั
ดวางต�
ำแหน่งแห่งที่
ทางวั
ฒนธรรมและจิ
นตนาการให้แก่ผู้ชมต่างกั
นออกไป และ
สามารถสร้
างอารมณ์
ให้
คล้
อยตาม เขาจึ
งเลื
อกใช้
มโนทั
ศน์
ดี
โอรามามาอธิ
บายการ
ท�
ำงานของอุดมการณ์รั
ฐชาติ
ไทยในยุ
คปัจจุ
บั
น
อย่างไรก็ตาม งานวิจัยของเขามีจุดเน้นที่ศิลปะไทยร่วมสมัยที่ต่อต้านและ
ท้
าทายดี
โอรามาทางการเมื
องดั
งกล่
าว เขาเลื
อกงานศิ
ลปะที่
ตั้
งค�ำถามกั
บค�
ำนิ
ยาม
ศิ
ลปะตามแนวจารี
ต เช่
นงานประติ
มากรรมรูปโครงเหล็
กที่
ผูกโยงกั
นไว้
เป็
นทรง
สามเหลี่
ยมคล้
ายพระสถูป ของมณเฑี
ยร บุ
ญมาซึ่
งต้
องการสื่
อให้
คนมองทะลุ
ภาพปรากฏผิ
วเผิ
นของพระสถูปเจดี
ย์
ที่
เสร็
จงดงาม ว่
าเบื้
องหลั
งความงดงามนั้
นคื
อ
หยาดเหงื่
อแรงงานของช่
างซึ่
งถูกหลงลื
มละเลย เพราะชื่
อบุคคลที่
ได้
รั
บการจารึก
มั
กเป็
นชื่
อของเจ้
าภาพที่
ถวายปั
จจั
ยสร้
างสถูปเท่
านั้น อี
กตั
วอย่
างหนึ่ง คื
อผล
งานของฤกษ์
ฤทธิ์
ตี
รวณิ
ช ซึ่
งดั
ดแปลงสตูดิ
โอศิ
ลปะของเขาที่
นิ
วยอร์
คให้
กลาย
เป็
นสถานที่
ท�
ำก๋
วยเตี๋
ยวผั
ดไทยแก่
ผู้
เข้
าชมงานศิ
ลปะได้
ลองชิม กรณี
นี้
กระแทก
ค�
ำนิ
ยามตามจารี
ตเดิ
มๆ ของการจั
ดห้
องแสดงภาพที่
มั
กท�
ำให้
ศิ
ลปะเป็
นเรื่
องขรึ
มขลั
ง
จริ
งจั
ง และเป็
นเรื่
องเฉพาะทาง มี
ที่
ทางจั
ดแสดงเป็
นการเฉพาะ ผู้
สร้
างงานต้
องเป็
น
มืออาชีพและศิลปะเป็นเรื่องความงามที่ต้องอาศัยความรู้และต้องมีจารีตระเบียบ
บางอย่
างในการเข้
ารั
บชม ผู้
เข้
าชมเป็
นเพี
ยง “ผู้
ดู” ที่
ไม่
มี
ส่
วนในงานนั้
นๆ ฤกษ์
ฤทธิ์
ต้องการสลายเส้นแบ่งดังกล่าว ด้วยการท�
ำให้
กิจกรรมพื้นๆ ที่แสนจะธรรมดาใน
ชี
วิ
ตประจ�
ำวั
นกลายเป็
น “ศิ
ลปะ” และให้
ผู้
ชมสามารถเข้
ามามี
ส่
วนร่
วมกั
บการ
ผลิ
ตงานได้
อย่
างใกล้
ชิ
ด เช่
นนี้
เท่
ากั
บศิ
ลปิ
นไทยได้
สานต่
อการวิ
จารณ์
ค�
ำนิ
ยาม
ศิ
ลปะของศิ
ลปิ
นตะวั
นตกอย่
างเช่
น มาร์
เซ็
ล ดูช็
องป์
(Marcel Duchamp) และ