งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ
79
พุ
ทธศาสนา และพระสงฆ์
เป็
นต้
น ให้
มาเข้
าร่
วมเสวนาโดยระมั
ดระวั
งและพยายาม
จะให้
ผู้
ที่
เห็
นต่
างกั
นทุ
กฝ่
ายมี
โอกาสเสนอความคิ
ดของตน และผู้
ประสานงาน
ท�ำหน้าที่เป็นเพียงผู้เรียบเรียงความเห็นเหล่านั้
นออกมาตีพิมพ์ นี่
นับเป็นทางออก
ที่
ดี
ที่
ให้
ทุ
กฝ่
ายมี
โอกาสเปล่
งเสี
ยงของตน ที่
ส�
ำคั
ญท�ำให้
เราเห็
นประวั
ติ
ศาสตร์
ว่
า
เป็
นเรื่
องของการครุ่
นคิ
ดถึ
งความเป็
นไปได้
ของอดี
ตมากกว่
าที่
จะเป็
นการประทั
บตรา
มาตรฐานแห่งความจริ
งลงบนอดี
ต
งานของเพ็
ญสุ
ภาจึ
งน่
าสนใจตรงที่
พยายามเสนอจารี
ตใหม่
ในวงวิ
ชาการ
คื
อการใช้
แนวทางการเสวนาประชาพิ
จารณ์
เชิ
งวิ
ชาการไปใช้
กั
บข้
อถกเถี
ยงทาง
ประวัติศาสตร์ที่มีความละเอียดอ่อน อันที่จริง เรายังมีประเด็นทางประวัติศาสตร์
ที่
ยั
งถกเถี
ยงกั
นไม่
ลงตั
วอี
กหลายเรื่
อง และน่
าสั
งเกตว่
าหลายๆ เรื่
องก่
อให้
เกิ
ด
ความขั
ดแย้
งและความรู้
สึ
กปกป้
องอั
ตลั
กษณ์
ทางวั
ฒนธรรมของท้
องถิ่
นสูงยิ่
ง
เมื่
องานวิ
จั
ยบางชิ้
นพยายามชี้
ให้
เห็
นความเป็
นวาทกรรมของอั
ตลั
กษณ์
ดั
งกล่
าว
ที่
ผ่
านมา หลายกรณี
ท�
ำให้
เกิ
ดกระแสอารมณ์
ที่
รุ
นแรงของชุ
มชนท้
องถิ่
นตอบโต้
นั
กวิจัยและผลงานวิจัยจนกระทั่งกลายเป็นประเด็นทางการเมืองย่อยๆ และท�ำให้
ความน่
าสนใจเชิ
งวิ
ชาการถูกกลบหาย จึ
งควรอย่
างยิ่
งที่
จะมี
การสนั
บสนุ
นให้
น�
ำ
จารี
ตของการเปิดเสวนาเช่นนี้
ไปลองใช้กั
บกรณี
อื่
นๆ ดูบ้าง
2.9 บทสรุป
จากที่
กล่าวมาทั้
งหมด จะเห็
นได้ว่า โจทย์และทิ
ศทางของงานวิ
จั
ยเกี่
ยวกั
บ
ศิ
ลปวั
ฒนธรรมนั้นถูกก�
ำหนดเป็
นอย่
างมากจากความเข้
าใจของผู้
วิ
จั
ยเกี่
ยวกั
บ
ความหมายและค�
ำนิ
ยาม ศิ
ลปวั
ฒนธรรมนั้นเอง งานวิ
จั
ยส่
วนใหญ่
ยั
งคงมอง
ศิลปวัฒนธรรมจากมุมมองแบบสารัตถะนิยม คือ มองเห็นว่าศิลปวัฒนธรรมเป็น
เรื่
องของระบบคุ
ณค่
าร่
วม วั
ฒนธรรมเป็
น “ความจริ
ง” ที่
มี
สารั
ตถะแน่
นอน และมี
พลั
ง
ในการสร้
างความผูกพั
น สร้
างอั
ตลั
กษณ์
ความเป็
นชาติ
พั
นธุ
์
และความเป็
นชาติ
เป็
นการมองวั
ฒนธรรมเชิ
งบวก อย่
างไรก็
ตาม ก็
พบว่
ามี
งานวิ
จั
ยจ�
ำนวนหนึ่
ง