งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ
81
การมองวั
ฒนธรรมในเชิ
งสารั
ตถะนิ
ยม คื
อการเห็
นวั
ฒนธรรมเป็
นสิ่
งที่
มี
แก่
นแกน
มี
ความต่
อเนื่
อง แก่
นแกนดั
งกล่
าวสั
มพั
นธ์
กั
บจิ
ตส�
ำนึ
กชาติ
นิ
ยมอย่
างแยกไม่
ออก คุ
ณค่
าและเอกลั
กษณ์
ทางวั
ฒนธรรมคื
อ “ความเป็
นไทย” ถึ
งขั้
นที่
ครั้
งหนึ่
ง
มี
การให้
นิ
ยามที่
ชั
ดเจนว่
าเอกลั
กษณ์
ความเป็
นไทยที่
ว่
านี้
คื
ออะไรบ้
าง และนโยบาย
เชิงอนุรักษ์ก็จะเน้นการตอกย�้
ำที่ตัวรูปแบบทางวัฒนธรรม และเมื่อใดก็ตามที่เกิด
ปั
ญหาเกี่
ยวกั
บพฤติ
กรรมทางวั
ฒนธรรม จะพบการแก้
ปั
ญหาของรั
ฐในลั
กษณะ
วั
วหายล้
อมคอก หรื
อการเน้
นนโยบายป้
องปราม โดยเฉพาะปั
ญหาพฤติ
กรรมที่
ไม่เหมาะสมของวั
ยรุ่น ไม่ว่าจะเป็นเรื่
องยาเสพติ
ด และพฤติ
กรรมด้านเพศสั
มพั
นธ์
สิ่
งที่
น่
าจะเป็
นโจทย์
การวิ
จั
ยที่
น่
าให้
การสนั
บสนุ
นเป็
นอย่
างยิ่
งก็
คื
อ
ตั
วอาการขาดวุ
ฒิ
ภาวะทางวั
ฒนธรรมนี่
เอง ว่
ามาจากไหนและเกิ
ดจากเงื่
อนไข
ทางประวั
ติ
ศาสตร์
สั
งคมอย่
างไร อั
นที่
จริ
งก็
เคยมี
ความพยายามจะวิ
เคราะห์
อาการ
ดั
งกล่
าวอยู่
บ้
าง เช่
น บทความของเกษี
ยร เตชะพี
ระเรื่
อง “บริ
โภคความเป็
นไทย” (2539)
ที่
ได้
รั
บการสนั
บสนุ
นจากสกว. ซึ่
งเสนอการวิ
เคราะห์
กระแสนิ
ยมบริ
โภคความเป็
นไทย
จากมุมมองทางทฤษฎีแบบสัญศาสตร์ (semiotics) และได้ข้อสรุปประการหนึ่
งว่า
เพราะ “ความเป็นไทย” เป็นสิ่
งว่างกลวงนี่
เอง จึ
งท�
ำให้สามารถน�ำไปปะติ
ดปะต่อ
ผสมผสานเข้ากับอะไรมากมายที่
ไม่ใช่ไทย อย่างไรก็
ตามข้อสรุ
ปนี้
ก็
ยั
งมิ
ใช่ข้อสรุ
ป
สุ
ดท้
าย แต่
อย่
างน้
อยก็
เป็
นความพยายามที่
จะกระเทาะเปลื
อกแห่
งมายาคติ
ให้
เห็
น
กระบวนการประกอบสร้างความเป็นไทยขึ้
นมา
ผู้
เขี
ยนใคร่
เสนอว่
าอาการขาดวุ
ฒิ
ภาวะทางวั
ฒนธรรมดั
งกล่
าว ส่
วนหนึ่
ง
มาจากการขาดกระบวนการไตร่
ตรองมองตน (self-refl
fl
flffllexivity) ทางวั
ฒนธรรม
กระบวนการนี้เป็นการใคร่ครวญอย่างลึกซึ้ง และประกอบไปด้วยความสามารถที่
จะก้
าวออกมาจากจุ
ดที่
ตนเองยื
นอยู่
และมองย้
อนกลั
บไปที่
ตนเอง กล่
าวอี
กนั
ยหนึ่
ง
จ�
ำต้
องมี
มุ
มมองเชิ
งวิ
พากษ์
ต่
อตนเอง (self-criticism) เป็
นองค์
ประกอบส�
ำคั
ญ
จะเห็
นได้
ว่
าวั
ฒนธรรมไทยค่
อนข้
างมี
อคติ
ต่
อความคิ
ดเชิ
งวิ
พากษ์
เมื่
อหลายปี
ก่
อน มี
โฆษณาทางโทรทั
ศน์
ชิ้
นหนึ่
งที่
เสนอภาพคู่
ตรงข้
ามหลายๆ คู่
เช่
น ตะวั
นตก-ตะวั
นออก
หนึ่
งในตั
วอย่
างที่
น�
ำเสนอเป็
นคู่
ตรงข้
ามระหว่
าง “สร้
างสรรค์
” ซึ่
งแทนภาพด้
วย