Previous Page  73 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 73 / 272 Next Page
Page Background

72

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

ศิ

ลปะยุ

คนั้

นมี

อยู่

ได้

ก็

ด้

วยการอิ

งอาศั

ยระบบอุ

ปถั

มภ์

และระบบศั

กดิ

นา ท�

ำให้

เข้

าใจ

ได้

ว่

าวิ

ธี

คิ

ดและโลกทั

ศน์

ของชนชั้

นสูงซึ

มแทรกเข้

ามาก�

ำหนดรูปแบบและเทคนิ

คทาง

ศิ

ลปะที่

ถูกเลื

อกใช้ ตลอดจนก�

ำหนดมาตรฐานของความงามเชิ

งสุ

นทรี

ยะอย่างไร

นอกจากนี้

ยั

งมี

งานวิ

จั

ยที่

ศึ

กษาความสั

มพั

นธ์

ทางสั

งคม ในกระบวนการผลิ

งานศิ

ลปะในบริ

บทที่

เปลี่

ยนแปลงของยุ

คโลกานุ

วั

ติ

ท�

ำให้เห็

นว่าพลั

งเชิ

งโครงสร้าง

ของตลาดมี

อิ

ทธิ

พลต่

อตั

วศิ

ลปิ

นและงานศิ

ลปะอย่

างไร และศิ

ลปิ

นต้

องปรั

บตั

อย่

างไรภายใต้

ความบี

บคั้

นดั

งกล่

าว งานที่

น่

าสนใจคื

องานศึ

กษาของวั

ฒนะและคณะ

(2544) ซึ่

งส�

ำรวจกระบวนการปรั

บตั

วของศิ

ลปิ

นพื้

นบ้

านในหลายสาขาต่

อแรงบี

เชิ

งพาณิ

ชย์ ผู้วิ

จั

ยมิ

ได้มี

ทั

ศนะว่า การที่

ช่างฝีมื

อจ�

ำต้องผลิ

ตงานออกมาในรสนิ

ยม

“ตลาด” เช่

นแกะไม้

เป็

นรูปมิ

กกี้

เมาส์

หรื

ออินเดี

ยนแดงนั้

นเป็

นสิ่งที่

ลดทอนคุ

ณค่

ของงานศิลปะให้กลายเป็นของตลาด ผู้วิจัยชี้ให้เห็นว่า ในบริบทตลาดโลกานุวัติ

ตัวช่างฝีมือเองมิได้แยกแยะระหว่างศิลปะและตลาดให้เป็นคู่ตรงข้าม หรือเห็นว่า

สองสิ่

งนี้

อยู่ร่วมกั

นไม่ได้ พวกเขาคิ

ดว่างานแกะแบบนั้

นก็

มี

คุ

ณค่าในตั

วของมั

นเอง

คณะผู้วิ

จั

ยเลื

อกศึ

กษาเจาะลึ

กตั

วศิ

ลปินและกลุ่มศิ

ลปิน ที่

สามารถปรั

บเทคนิ

คการ

ผลิ

ตงานที่

สูงขึ้

น ซึ่

งสามารถสงวนความเป็

น high culture ด้

วยการเลื

อกใช้

วั

สดุ

และพัฒนาเทคนิ

คการผลิ

ตจนสามารถประสบความส�

ำเร็จเชิงตลาด มี

ลูกค้

าเป็

กลุ่มชนชั้

นกลางที่

มี

รายได้สูง ผู้วิ

จั

ยต้องการชี้

ให้เห็

นว่าพ่อค้าที่

ดี

ต้องมี

ความเข้าใจ

ธรรมชาติ

ของศิ

ลปิ

นและธรรมชาติ

ของการผลิ

ตงานศิ

ลปะ และต้

องสามารถค้

นพบ

“จุดลงตัว” ระหว่างแรงดึงของตลาดและคุณค่าทางศิลปะให้ได้ ในท่ามกลางแรง

กดดั

นของตลาด พ่

อค้

าและศิ

ลปิ

นมิ

ได้

เป็

นเพี

ยงฝ่

ายถูกกระท�

ำ หรื

อถูกตลาดจูงจมูก

พ่

อค้

าและศิ

ลปิ

นจ�

ำนวนหนึ่

งสามารถสงวนรั

กษาทั้

งคุ

ณค่

าเชิ

งสุ

นทรี

ย์

และพั

ฒนา

ฝีมือไปพร้อมๆ กั

บประสบความส�

ำเร็

จเชิ

งธุ

รกิ

จได้เช่นกั

การศึ

กษาเรื่

องศิ

ลปะกั

บการจั

ดความสั

มพั

นธ์

ทางสั

งคมอี

กแนวหนึ่

ง ที่

ตรงกั

นข้

ามกั

บกรณี

ที่

เพิ่

งกล่

าวไป คื

อการเน้

นความขั

ดแย้

งอย่

างรุ

นแรง ในเรื่

อง

ระบบคุ

ณค่

าในการท�

ำงานศิ

ลปะในกระบวนการเปลี่

ยนแปลงทางสั

งคม งาน

ของปราโมทย์

และทรงศั

กดิ์

(2549) ศึ

กษาความขั

ดแย้

งระหว่

างค่

านิ

ยมในระบบ