Previous Page  64 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 64 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

63

ก็

มี

แนวโน้

มใหม่

ซึ่

งแม้

จะยั

งคงเป็

นเสี

ยงข้

างน้

อย และเมื่

อนั

บจ�

ำนวนชิ้

นงานวิ

จั

ยแล้

มี

ปริ

มาณน้

อยกว่

าแบบแรกมาก ทว่

ามี

ความส�ำคั

ญในแง่

ที่

เสนอค�

ำนิ

ยามวั

ฒนธรรม

ต่

างออกไป นั่

นก็

คื

อการตั้

งค�

ำถามกั

บการมองวั

ฒนธรรมจากกรอบคิ

ดแบบ

สารั

ตถะนิ

ยม และมองวั

ฒนธรรมเชิ

งวิ

พากษ์

โดยเห็

นว่

าค�

ำนิ

ยามวั

ฒนธรรมก็

ดี

หรือปฏิบัติการทางวัฒนธรรมก็ดีล้วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการเชิงอ�

ำนาจของการ

สถาปนาความเป็

นจริ

งทางสั

งคมบางอย่

างขึ้

นมา งานวิ

จั

ยแนวนี้

เพิ่

งได้

รั

บความนิ

ยม

ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา จัดได้ว่าเป็นงานที่อยู่ในกระแสธารความคิดของแนวทฤษฎี

หลั

งสมั

ยใหม่ และอิ

ทธิ

พลจากแนววั

ฒนธรรมศึ

กษา (cultural studies)

งานในกลุ

มนี้

ตั้

งค�

ำถามกั

บการผูกโยงความหมายของศิ

ลปวั

ฒนธรรมกั

เรื่

องของระบบคุ

ณค่

า ไม่

ว่

าจะเป็

นคุ

ณค่

าทางสุ

นทรี

ยะหรื

อคุ

ณค่

าร่

วมทางสั

งคม

จุ

ดร่

วมของงานในกลุ

มนี้

ก็

คื

อ เสนอการมองวั

ฒนธรรมใหม่

โดยมุ

งจะสลั

ดมโนทั

ศน์

นี้

ให้หลุ

ดพ้นจากการผูกกั

บวิ

ธี

คิดแบบสารั

ตถะนิ

ยม ประการแรก กลุ่มนี้

มองศิ

ลป

วั

ฒนธรรมเป็

นเรื่

องของภาพแทนความจริ

(representation) มากกว่

าที่

จะมองว่

าศิ

ลป

วัฒนธรรม

สะท้อนความเป็นจริง

เรื่องนี้เป็นประเด็นเชิงญานวิ

ทยา (epistemology)

นั่

นก็

คื

อ วิ

ธี

คิ

ดนี้

ตั้

งค�ำถามกั

บความเคยชิ

นที่

เรามั

กทึ

กทั

กเอาตามสามั

ญส�

ำนึ

กว่

สิ่

งต่างๆ รอบตั

วเรา ทั้

งสิ่

งที่

มี

อยู่ในธรรมชาติ

เช่นต้นไม้ ภูเขา หรื

อ ความเป็นชาติ

วั

ฒนธรรม หรื

อความเป็นเพศของตั

วเราเอง ล้วนเป็น “ความจริ

ง” ที่

ถูกก�

ำหนดมา

ให้ “ตามธรรมชาติ

” แนวคิ

ดหลั

งสมั

ยใหม่วิ

พากษ์ความไร้เดี

ยงสาที่

ไม่ตระหนั

กว่า

เรามองเห็

นและเข้

าใจทุ

กๆ สิ่

งผ่

านเครื่

องกรองทางวั

ฒนธรรมเสมอ เพี

ยงแต่

ว่

เครื่

องกรองนั้

นโปร่

งใสเสี

ยจนเรามองไม่

เห็

นและไม่

ตระหนั

กว่

ามั

นมี

อยู่

วิ

ธี

คิ

ดที่

สลาย

มายาการเช่

นนี้

ท�

ำให้

ศิ

ลปวั

ฒนธรรมกลายเป็

นส่

วนหนึ่

งของเครื่

องกรองที่

เราใช้

มอง

โลกและสิ่

งต่

างๆ เมื่

อเป็

นเช่

นนั้

น ระบบคุ

ณค่

าทั้

งสามประการของงานศิ

ลปะที่

กล่

าว

ไปข้

างต้

น คื

อความงามทางสุ

นทรี

ยะ พลั

งสร้

างสรรค์

ความงามของปั

จเจก และ

ระบบคุ

ณค่

าและภูมิ

ปั

ญญาของสั

งคมซึ่

งเคยถูกถื

อว่

าเป็

นสารั

ตถะของวั

ฒนธรรม

และเป็

นความจริ

งในตั

วเองล้

วนต้

องถูกตั้

งค�

ำถามทั้

งสิ้

น ศิ

ลปะคื

ออะไรแน่

ต้องเป็นเรื่

องความงามเท่านั้

นหรื

อ อะไรคื

อมาตรวั

ดว่าสิ่

งใด “งาม” หรื

อ “ไม่งาม”