Previous Page  65 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 65 / 272 Next Page
Page Background

64

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

มาตรวั

ดนี้

มี

ความเป็

นสากลหรื

อไม่

ใครควรเป็

นผู้

ก�

ำหนดมาตรวั

ดนี้

สั

งคมแต่

ละยุ

นิ

ยามความงามเหมื

อนกั

นหรื

อไม่

ประการที่

สองที่

สื

บเนื่

องมาจากข้

างต้

น แทนที่

จะมองศิ

ลปวั

ฒนธรรมเป็

เรื่

องของระบบคุ

ณค่

าร่

วมที่

ผูกโยงสั

งคมให้

เป็

นอั

นเดี

ยวกั

น วิ

ธี

คิ

ดนี้

เปิ

ดเผยให้

เห็

นว่

ที่

จริ

งแล้

วการผูกโยงดั

งกล่

าวเป็

นเรื่

องของอ�

ำนาจในการนิ

ยามความหมายที่

สถาปนา

อาณาจั

กรแห่

งความจริ

งเกี่

ยวกั

บเรื่

องต่

างๆ แม้

อ�

ำนาจดั

งกล่

าวแนบเนี

ยนและ

ซึ

มซ่

านไปในทุ

กอณูของสั

งคม แต่

ก็

ไม่

มี

ใครสามารถผูกขาดอ�

ำนาจการนิ

ยามความ

จริ

งได้

อย่

างเบ็

ดเสร็

จเด็

ดขาด เพราะวั

ฒนธรรมเป็

นเรื่

องของการน�

ำเสนอภาพตั

วแทน

ความจริ

ง จึ

งไม่

มี

ใครสามารถพูดเกี่

ยวกั

บความจริ

งได้

ทั้

งหมด ความจริ

งในเรื่

อง

ต่างๆล้วนเป็นเพี

ยงความจริ

งบางส่วน (partial truth) ที่

มองจากมุ

มบางมุมของคน

บางกลุ่

มเท่

านั้

น การท้

าทายและการต่อรองจึงเกิดขึ้นได้

เสมอ ศิลปวัฒนธรรมจึง

สามารถเป็

นทั้

งพื้

นที่

แห่งการสถาปนาอ�

ำนาจและพื้

นที่

ที่

ท้

าทายอ�

ำนาจได้ด้วย เมื่

เรามองเรื่

องนี้

เป็

นกระบวนการของการปะทะประสานและการช่

วงชิ

งความหมาย

ความจริ

งทางวั

ฒนธรรมจึ

งไม่

หยุ

ดนิ่

งตายตั

ว แต่

ไหลเลื่

อนเปลี่

ยนแปลงได้

การมอง

เช่

นนี้

ท�

ำให้

งานศึกษาหันมาสนใจวัฒนธรรมในแง่

ที่เป็

“กระบวนการ” และเป็

ปฏิ

บั

ติ

การที่

ไม่

เบ็

ดเสร็

จ มองเห็

นการผสมผสาน เลื

อกสรร ต่

อรอง คั

ดทิ้

ง สร้

างใหม่

(selective tradition) มากกว่าที่

จะมองวั

ฒนธรรมในฐานะที่

เป็น “โครงสร้าง” หรื

“ระเบี

ยบ” ที่

มี

เอกภาพหรื

ออ�

ำนาจก�

ำหนดครอบคลุ

ส�

ำหรั

บงานวิ

จั

ยศิลปวั

ฒนธรรมในแนวนี้

นั้

น ส่วนหนึ่

งได้กล่าวถึ

งไปแล้วใน

หั

วข้

อ 2.4 ที่

ว่

าด้

วยวาทกรรม ในหั

วข้

อนี้

มุ่

งจะกล่

าวถึ

งงานวิ

จั

ยอี

กจ�

ำนวนหนึ่

งที่

เน้

ศึกษาการ “เลื่อนไหล” ของความหมายของงานศิลปะในบริบทโลกานุวัติ ระบบ

ดั

งกล่

าวนี้

ผลิ

ตพลั

งต้

านตั

วมั

นเองออกมาในนามของ กระแสท้

องถิ่

นนิ

ยม (localism)

อย่

างไรก็

ตาม พลั

งทั้

งสองขั้

วนี้

มิ

ใช่

คู่

ปฏิ

ปั

กษ์

กั

น ตรงกั

นข้

าม มั

นกลั

บปะทะประสาน

กั

นอย่

างมี

ชี

วิ

ตชี

วายิ่

ง การปะทะประสานดั

งกล่

าวรู้

จั

กกั

นดี

ในนามของกระแส

โลกาเทศานุ

วั

ติ

(glocalization) งานวิ

จั

ยเกี่

ยวกั

บกระบวนการนี้

มั

กเน้

นศึ

กษาการ

ปะทะประสานขององค์ประกอบทางวัฒนธรรมต่างๆ และบทบาทของรั

ฐซึ่

งเป็นตั