Previous Page  62 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 62 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

61

เท่าเทียมและการต่อรองภายในกระบวนการมีส่วนร่วม แม้ผู้วิจัยจะเป็นชาวอ่าข่า

เองด้

วย แต่

ก็

มิ

ได้

พยายามกลบเกลื่

อนสิ่

งที่

เป็

นจุ

ดอ่

อนและความขั

ดแย้

งภายใน

จารี

ตประเพณี

ดั้

งเดิ

ม การดึ

งผู้

หญิ

งเข้

าร่

วมท�

ำให้

กระบวนการประดิ

ษฐ์

ประเพณี

(invention of tradition) กลายเป็นเวที

เปิดของการต่อรอง

ในกระบวนการวิ

จั

ย จะเห็

นว่

า สกว.ให้

ความส�

ำคั

ญแก่

กระบวนการกลุ

มาก เนื่

องมาจากปรั

ชญาการวิ

จั

ยที่

ต้

องการให้

งานวิ

จั

ยนี้

เป็

นของชาวบ้

านอย่

าง

แท้จริ

ง อย่างไรก็

ตาม เมื่

อศึ

กษาตั

วรายงานการวิ

จั

ย จะพบแบบแผนการน�

ำเสนอ

งานวิ

จั

ยคล้

ายกั

น คื

อ มิ

ได้

แจกแจงบรรยากาศหรื

อรายละเอี

ยดของการสนทนากลุ่

สักเท่าใด มักมีแต่การสรุปผลของการสนทนา ให้ข้อมูลว่ามีกลุ่มใดบ้างที่เข้าร่วม

และผลสรุปออกมาเป็นอย่างไร ส่วนหนึ่

งก็เพราะตัวกระบวนการกลุ่มเองมิได้เป็น

โจทย์

ของการวิ

จั

ย แต่

เป็

นเพี

ยงขั้

นตอนหนึ่งในกระบวนการท�

ำงานที่

มุ

งน�

ำไปสู่

ผลสรุ

ปมากกว่

า กล่

าวอี

กนั

ยหนึ่

งกระบวนการกลุ

มส�

ำคั

ญในฐานะเป็

นเครื่

องมื

อที่

น�

สู่เป้าหมายเท่านั้

น ข้อเสนอแนะเพิ่

มเติ

มในที่

นี้

ก็

คื

น่าจะลองให้ตั

วกระบวนการมี

ส่วนร่

วมนั้

นมี

ฐานะเป็นโจทย์

ของการวิ

จั

ยดูบ้

าง

โดยศึ

กษาปฏิ

สั

มพั

นธ์

ระหว่

างกลุ่

ต่

างๆ ในกระบวนการต่

อรองที่

ก�ำลั

งด�

ำเนิ

นอยู่

ท�

ำอย่

างไรจึ

งจะให้

ผู้

ที่

เราไม่

เคยได้

ยิ

เสียงมีโอกาสเปล่งเสียงออกมา อันที่จริงแล้ว ความสัมพันธ์เชิงอ�

ำนาจปรากฏใน

บรรยากาศของวงเสวนาหรื

อวงสนทนาทั่

วๆ ไปอยู่เสมอๆ ไม่ว่าจะเป็นวงสนทนาที่

เป็

นทางการหรื

อไม่

เป็

นทางการ จะพบว่

า บ่

อยครั้

ง มั

กมี

ใครสั

กคนที่

สามารถน�

ำการ

สนทนา หรื

อชั

กจูงการสนทนาไปในทิ

ศทางใดทิ

ศทางหนึ่

ง ตั

วอย่

างจากงานวิ

จั

ยของ

ปราโมทย์ที่

กล่าวไปในหั

วข้อ 2.4 ที่

ผ่านมา เราได้เห็

นว่า ในท่ามกลางบรรยากาศ

การเสวนากลุ่มนั้

น เสี

ยงของแม่เฒ่าช่างทอผ้าถูกกลบหายไปในสถานการณ์ใด

หาก สกว. ยั

งคงต้

องการส่

งเสริ

มเสี

ยงของคนชายขอบ โจทย์

เรื่

องกระบวนการ

กลุ่มก็ควรได้

รับการใส่ใจในฐานะหน่วยในการศึกษาวิเคราะห์

ด้วย สังคมหมู่

บ้าน

มิ

ใช่

จะปราศจากช่

วงชั้

น ในการประชุ

ม เรามั

กได้

ยิ

นเสี

ยงของผู้

อาวุ

โสชายที่

เป็

นผู้

น�

ทางการหรือผู้

น�

ำที่

ได้

รั

บยกย่

องเป็

นปราชญ์

ชาวบ้

าน ส่

วนคนอื่นๆ รวมทั้งผู้

หญิง

และเด็

กมั

กเล่

นบทผู้

ฟั

งเป็

นส่

วนใหญ่

ผู้

หญิ

งมั

กมี

บทบาทในการจั

ดการอยู่

เบื้

องหลั