

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ
69
นั
กวิ
จั
ยกลุ่มแรกมี
ภาพสั
งคมสมั
ยก่อนว่าค่อนข้างกลมเกลี
ยว ไม่แบ่งแยก เส้นแบ่ง
ทางชนชั้นที่
แสดงออกผ่
านการแต่
งกายมองเห็
นไม่
สู้
ชัดเจน ขณะที่
โบวี
ดูจะมี
มโน
ทัศน์ว่า ศิลปวัฒนธรรมคือการแต่งกายสามารถเป็นเครื่องบ่งชี้ความแตกต่างทาง
ชนชั้
นที่
ส�
ำคั
ญ ประเด็
นจึ
งอยู่
ตรงที่
มโนทั
ศน์
เกี่
ยวกั
บสั
งคมและศิ
ลปะของนั
กวิ
จั
ย
แตกต่างกัน จึงท�ำให้ภาพของสังคมและศิลปะที่น�
ำเสนอแตกต่างกันไปคนละทาง
นั่
นเอง
ประเด็
นเรื่
อง “การก�
ำหนด” (determination) ระหว่างสั
งคมและศิ
ลปะนี้
เป็น
ส่
วนหนึ่
งของการถกเถี
ยงที่
ส�ำคั
ญซึ่
งเป็
นหั
วใจของทฤษฎี
สั
งคมศาสตร์
ที่
ว่
า ระหว่
าง
ปั
จเจก (individual)กั
บพลั
งเชิ
งโครงสร้
างสั
งคม (social structure) อะไรเป็
นตั
วก�
ำหนด
พื้
นฐานของการกระท�
ำของมนุ
ษย์
กั
นแน่
ในแง่
หนึ่
ง ศิ
ลปะเป็
นผลผลิ
ตของพลั
ง
สร้างสรรค์ของปัจเจกชน แต่ในอีกแง่หนึ่
ง สิ่งที่ผลักดันอยู่เบื้องหลังการสร้างงาน
นั้
นก็
คื
อกระบวนการทางสั
งคม พลั
งของโครงสร้
างทางการเมื
องและอุ
ดมการณ์
ทาง
สั
งคมมี
ส่วนก�
ำหนดทั้
งเนื้
อหาและรูปแบบของงานศิ
ลปะในแต่ละยุ
ค อย่างไรก็
ตาม
งานศิ
ลป์
บางชิ้
น เมื่
อถูกผลิ
ตออกมาแล้
ว สามารถก่
อแรงบั
นดาลใจอย่
างสูงจนอาจ
ก่อให้เกิ
ดผลสะเทื
อนทางการเมื
องหรื
อวั
ฒนธรรมได้ด้วยเช่นกั
น
มี
งานวิ
จั
ยบางชิ้
นเน้
นศึ
กษาตั
วศิ
ลปิ
นผู้
สร้
างงาน เนื่
องจากวั
ฒนธรรม
ไทยปัจจุบันเน้นเชิดชูผลงานของปัจเจกชน และมีธรรมเนียมมอบรางวัลด้านศิลป
วั
ฒนธรรมหลายรางวั
ลแก่
ศิ
ลปิ
นหลายแขนง ทั้
งศิ
ลปิ
นระดั
บชาติ
หรื
อศิ
ลปิ
นพื้
น
บ้
านในสาขาต่
างๆเป็
นประจ�ำทุ
กปี
ปั
จจั
ยนี้
จึ
งเอื้
อให้
มี
การผลิ
ตงานวิ
จั
ยเพื่
อเชิ
ดชู
เกี
ยรติ
ศิ
ลปิ
นเป็
นรายบุ
คคลด้
วย ลั
กษณะงานวิ
จั
ยแนวนี้
มั
กประกอบด้
วยชี
วประวั
ติ
ของศิ
ลปิน การรวบรวมตั
วผลงาน และการประเมินค่างานของศิ
ลปินนั้
นๆ ในกลุ่ม
นี้
มี
งานที่
น่าสนใจสองชิ้
น ชิ้
นหนึ่
งคื
องานที่
ศึ
กษาอิ
นสนธิ์
วงศ์สาม (วั
ฒนะ, 2546)
ผู้เป็นศิ
ลปินแห่งชาติ
สาขาประติ
มากรรม ประจ�
ำปี 2542 และงานอี
กชิ้
นหนึ่
งศึ
กษา
ค�
ำอ้
าย เดชดวงตา (อารยะ & ประดิ
ษฐ์
, 2547) ผู้
ได้
รั
บเลื
อกให้
เป็
นครูภูมิ
ปั
ญญาไทย
สาขาศิลปกรรมปี 2542 สิ่งที่น่าสนใจในงานวิจัยสองชิ้นนี้ ก็คือวิธีการวิเคราะห์ที่
ผู้
วิ
จั
ยท�
ำให้
ผู้
อ่
านเห็
นว่
าตั
วศิ
ลปิ
นปั
จเจกนั้
นเป็
นพื้
นที่
ของการผสมผสานและเชื่
อมต่
อ