Previous Page  67 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 67 / 272 Next Page
Page Background

66

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

งานวิจัยพบว่าผู้ผลิตงานไม้ต่างนิยามความเป็นดั้งเดิมจริงแท้แก่งานหัตถกรรมไม้

แตกต่

างกั

นไปตามลั

กษณะและความเข้

มข้

นของการถูกดูดเข้

าสู่

ระบบตลาดโลก

ผู้

ผลิ

ตหั

ตถกรรมบางรายลั

งเลที่

จะรั

บสั

ญญาจ้

างจากลูกค้

าตะวั

นตกเพื่

อต้

องการ

สงวนลั

กษณะพื้

นบ้านบางอย่างไว้ แต่บางรายปรั

บเลื

อกรูปแบบท้องถิ่

นเพื่

อเข้ากั

ความต้

องการลูกค้

าต่

างชาติ

แต่

ก็

ยั

งคงนิ

ยามลั

กษณะที่

ปรั

บไปว่

าเป็

นความดั้

งเดิ

ด้วยเช่นกั

2.7 ศิลปะกับความเป็นจริงทางสังคม

ค�

ำนิ

ยามที่

ส�

ำคั

ญอี

กประเด็

นหนึ่

งที่

อาจใช้

เป็

นแกนในการจั

ดแบ่

งกลุ

มงาน

วิ

จั

ยได้ก็

คื

อ ประเด็

นความสั

มพั

นธ์ระหว่างศิ

ลปะกั

บสั

งคม ศิ

ลปะสั

มพั

นธ์กั

บสั

งคม

อย่

างไรนั้

น บางครั้

งก็

อยู่

ในโจทย์

วิ

จั

ยตรงๆ แต่

หากแม้

ไม่

อยู่

ในโจทย์

วิ

จั

ยก็

ตาม

ก็

มั

กแฝงอยู่ในลั

กษณะการน�

ำเสนอผลงานวิ

จั

ยนั้

นๆ การตอบประเด็

นนี้

จะโดยตรง

หรื

อโดยแฝงก็

ตาม กลายเป็นสิ่

งก�

ำหนดทิ

ศทางและยุ

ทธศาสตร์การวิ

จั

ยด้วย

ในที่

นี้

จะขอแบ่

งกลุ

มงานวิ

จั

ยตามทิ

ศทางในการตอบประเด็นดั

งกล่

าวได้

เป็

นสามกลุ

กลุ่

มแรก คื

อกลุ่

มที่

เน้

นประเด็

นที่

ว่

า ศิ

ลปะเป็

นกระจกที่

สะท้

อนความจริ

งทางสั

งคม

กลุ

มที่

สอง เป็

นกลุ

มงานวิ

จั

ยที่

ชี้

ให้

เห็

นลั

กษณะการก�ำหนดซึ่

งกั

นและกั

นระหว่

าง

ศิ

ลปะและสั

งคม กลุ่มที่

สามเน้นพลั

งของศิ

ลปะในการสร้างคุ

ณค่าใหม่ขึ้

นในสั

งคม

กลุ

มแรกคื

องานที่

มี

สมมติ

ฐานพื้

นฐานว่

า ศิ

ลปะท�

ำหน้

าที่

เป็

นกระจกที่

“สะท้

อน” ความเป็

นจริ

งทางสั

งคมอย่

างที่

มั

นเป็

นอยู่

จริ

งๆ เพลง การละเล่

นพื้

นบ้

าน

ภาพวาด ผ้าทอ โคลง สุภาษิตต่างๆ สามารถสะท้อนภาพวิถีชีวิต ความเป็นอยู่

จารี

ตประเพณี

ความสั

มพั

นธ์

ทางสั

งคมที่

เป็

นจริ

งของคนในยุ

คสมั

ยนั้

นๆ ได้

ในแง่

นี้

วั

ฒนธรรมจึ

งเป็

น “ความจริ

ง” ที่

ถูกก�

ำหนดมาก่

อน หรื

อมี

มาอยู่

ก่

อนหน้

าแล้

ผู้

วิ

จั

ยมั

กจะไม่

สนใจสื

บสาวกระบวนการทางสั

งคมของการก่

อตั

วของความเป็

นจริ

ทางวัฒนธรรม ท�ำให้วิธีวิเคราะห์วัฒนธรรมโน้มเอียงไปในทางที่มีลักษณะหยุดนิ่

ส่

วนการที่

เห็

นว่

าศิ

ลปะสะท้

อนความเป็

นจริ

งเหล่

านั้

นได้

ราวกั

บเป็

นกระจกเงา