งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ
53
น�้
ำหนั
กแก่
เสี
ยงของผู้
ถูกศึ
กษาตามแนวทางหลั
งนี้
ต้
องประสบปั
ญหาทางญานวิ
ทยา
ตรงที่
ว่
า นั
กมานุ
ษยวิ
ทยาไม่
มี
ทางรู้
สึ
กหรื
อคิ
ดในแบบเดี
ยวกั
นกั
บที่
ชาวบ้
านรู้
สึ
กหรื
อ
คิดจริงๆ เพราะมนุษย์ทุกคนล้วนไม่อาจเป็นอิสระจากกรอบกรงขังทางวัฒนธรรม
ของตนเองได้ เท่าที่
เราพยายามท�ำได้มากที่
สุ
ดก็
คื
อการจิ
นตนาการ และพยายาม
คิ
ดเปรี
ยบเที
ยบประสบการณ์
ข้
ามวั
ฒนธรรมไปมาระหว่
างมุ
มของเราและมุ
มของเขา
ซึ่
งเท่
ากั
บเป็
นกระจกที่
ส่
องให้
นั
กมานุ
ษยวิ
ทยาเห็
นตนเองชั
ดขึ้
นกว่
าเก่
าด้
วย ส�
ำหรั
บ
แนวทางของกลุ
่
มหลั
งสมั
ยใหม่
ได้
ฐานวิ
ธี
วิ
ทยามาจากแนวคิ
ดการตี
ความ แต่
ไปไกล
กว่
านั้
นอี
กขั้
นหนึ่
ง คื
อวิ
พากษ์
ความสั
มพั
นธ์
เชิ
งอ�
ำนาจระหว่
าง “เสี
ยง” หลายๆ เสี
ยง
ในสนาม รวมทั้
งเสี
ยงระหว่างชาวบ้านและนั
กวิ
จั
ยอี
กด้วย ประเด็
นอยู่ที่
ว่า เสี
ยงที่
แตกต่
างกั
นนี้
มี
โอกาสเปล่
งออกมาได้
เท่
ากั
นไหม มี
โอกาสสนทนาซึ่
งกั
นและกั
นมาก
น้อยอย่างไร หรื
อเมื่
อเปล่งออกมาแล้ว มี
คนฟังและเชื่
อเท่ากั
นไหม การแทรกแซง
ของนั
กวิ
จั
ยเองมี
ส่วนในความสั
มพั
นธ์ดั
งกล่าวอย่างไร
งานปราโมทย์
ชี้
ให้
เห็
นความสั
มพั
นธ์
เชิ
งอ�
ำนาจ ที่
ไม่
เท่
ากั
นระหว่
างนั
กพั
ฒนา
กั
บชาวบ้
านอย่
างชั
ดเจน ในเวที
เสวนาในหมู่
บ้
าน แม้
ผู้
เข้
าร่
วมทุ
กคนสามารถแสดง
ความเห็
นได้
อย่
างเสรี
แต่
เมื่
อเกิ
ดความขั
ดแย้
งระหว่
างการตี
ความของนั
กพั
ฒนากั
บ
แม่
เฒ่
าช่
างทอ ก็
จะมี
ผู้
เข้
าร่
วมบางส่
วนออกมากลบเกลื่
อนกระแสความขั
ดแย้
งด้
วย
การพูดสนั
บสนุ
นความเห็
นของนั
กพั
ฒนาว่
าน่
าจะเป็
นความเห็
นที่
ถูกต้
องในฐานะที่
“เป็นคนที่
ศึ
กษาเรื่
องราวของแม่แจ่มมาก่อนเมิ
น คื
อฮู้นั
ก(รู้มาก) เฮาควรจะยอมรั
บ
และพร้อมที่จะศึกษาจากเปิ้น” (ปราโมทย์: 230) ดังนั้
น บางทีอ�ำนาจที่เหนือกว่า
อาจไม่
ได้
มาจากเจตนาของตั
วนั
กพั
ฒนาเอง แต่
มาจากการยอมรั
บจากชาวบ้
าน
คนอื่
นๆที่
มี
ส่
วนช่
วยกั
นสถาปนาสถานภาพ “ความรู้” ของนั
กพั
ฒนาให้
สูงกว่
าและ
ดูเป็นจริ
งกว่าความรู้ของชาวบ้าน
อย่
างไรก็
ตาม งานของปราโมทย์
ก็
ยั
งมิ
ได้
กล่
าวถึ
งบทบาทของตั
วนั
กวิ
จั
ยเอง
ว่ามี
ส่วนในการสถาปนาวาทกรรมอย่างไร ในประเด็
นนี้
บทความต่างๆ ในหนั
งสื
อ
คนใน: ประสบการณ์ภาคสนามของนั
กมานุษยวิทยาไทย
(2545) ได้เน้นถึงความ
ครุ่นคิดตรึกตรองของนั
กมานุษยวิทยาเกี่ยวกับประสบการณ์สนามของตนเอง ใน