50
กำ�กึ๊ดกำ�ปาก
2.4 วาทกรรมในศิลปวัฒนธรรม
กรอบการอธิ
บายและวิ
เคราะห์
ศิ
ลปวั
ฒนธรรมอี
กแบบหนึ่งที่
ส�
ำคั
ญและ
ก�ำลั
งได้
รับความนิยมในปั
จจุ
บั
นคือ กรอบการวิ
เคราะห์
เชิ
งวาทกรรม (discursive
mode of analysis) วิธีวิทยาดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่
งของกระแสทฤษฎีหลังสมัยใหม่
(postmodernism) ที่
เน้
นในประเด็
นความสั
มพั
นธ์
เชิ
งอ�
ำนาจในระดั
บที่
เป็
นวาทกรรม
ศิ
ลปวั
ฒนธรรมได้
รั
บการนิ
ยามใหม่
มิ
ได้
ถูกมองจากแง่
มุ
มเชิ
งสุ
นทรี
ยะ หรื
อมอง
เชิงบวกในแง่ที่เป็นกระบวนการถ่ายทอดปลูกฝังค่านิยมและบรรทัดฐานทางสังคม
อี
กต่
อไป แต่
กลั
บเป็
นส่
วนหนึ่
งของกระบวนการสร้
างและสถาปนาความเป็
นจริ
ง
ทางสั
งคม ศิ
ลปวั
ฒนธรรมจึ
งอยู่ในมิติ
ของการปะทะประสานของอ�
ำนาจ งานของ
เธี
ยรชาย อั
กษรดิ
ษฐ์
(2545, 2548) และงานของปฐม หงษ์
สุ
วรรณชี้
ให้
เห็
น ศิ
ลปะใน
แง่ที่
เป็นข้อความทางการเมื
อง (political statement) เธี
ยรชาย (2548) ศึ
กษาต�
ำนาน
พระเจ้าเลียบโลกและปฐม (2548) ศึกษาต�
ำนานของชาวไทเกี่ยวกับคนลัวะ ทั้งคู่
ชี้
ให้
เห็
นว่
าต�
ำนานเป็
นเครื่
องมื
อชั้
นยอดในการสร้
างความชอบธรรมทางการเมื
อง
กรณี
เรื่
องพระเจ้
าเลี
ยบโลก วั
ฒนธรรมพุ
ทธซึ่
งเข้
ามาที
หลั
งพยายามสถาปนาอ�
ำนาจ
เหนื
อวั
ฒนธรรมผี
ที่
มี
อยู่
ก่
อน ด้
วยการเสนอภาพว่
าวั
ฒนธรรมพุ
ทธเจริ
ญกว่
าทั้
งด้
าน
เทคโนโลยีและจิตวิญญาณ และเสนอแบบฉบับของเรื่องเล่าเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า
ที่
เสด็
จมาเยื
อนดิ
นแดนนี้
และทรงได้สอนคนพื้
นเมื
องให้รู้จั
กวิ
ทยาการใหม่ๆ หลาย
ประการ ส่
วนต�ำนานของคนไทหลายเผ่
านั้
นก็
สร้
างภาพเกี่ยวกั
บคนลั
วะคล้
ายกั
น
ในแง่
ว่
าเป็
นพวกป่
าเถื่
อน กิ
นเนื้
อคน ท�
ำให้
คนลั
วะซึ่
งเป็
นชนพื้
นเมื
องเดิ
มต้
องกลาย
สภาพมาเป็นคนชายขอบที่
ไร้อารยธรรม
งานศึ
กษาประเพณี
“ชุ
ธาตุ
” ของเธี
ยรชาย (2545) ชี้
ให้เห็
นความพยายาม
อย่
างแอบแฝงของผู้
น�ำทางการเมื
องล้
านนาซึ่
งสถาปนาระบบพระธาตุ
ประจ�
ำปี
เกิ
ด
ที่
โอบเอาพระธาตุส�
ำคั
ญในเขตล้านนา ล้านช้าง พม่า อี
สาน อิ
นเดี
ย รวมถึ
งพื้
นที่
ศั
กดิ์
สิ
ทธิ์
ในจิ
นตนาการเช่
นสวรรค์
ชั้
นดาวดึ
งส์
อั
นเป็
นที่
สถิ
ตของพระธาตุ
จุ
ฬามณี
เข้
าไว้
รวมกั
นเป็
นดิ
นแดนศั
กดิ์
สิ
ทธิ์
ในจิ
นตนาการ ดิ
นแดนดั
งกล่
าวจงใจตั
ดพื้
นที่
และ