52
กำ�กึ๊ดกำ�ปาก
ต่
างๆ ในแม่
แจ่
มมี
โอกาสเข้
าถึ
ง ได้
รั
บทรั
พยากรและผลประโยชน์
ที่
มาจากกลุ
่
ม
ข้างนอกได้ไม่เท่าเที
ยมกั
น
ในเวที
เสวนาระดั
บท้
องถิ่
นที่
จั
ดขึ้
นในโอกาสต่
างๆ กั
นนั้
น ความหมายที่
ลักลั่นของผ้าทอปะทะสังสรรค์กันอย่างมีชี
วิตชีวา แม่เฒ่าช่างทอบางคนยื
นยันค�ำ
บอกเล่
าที่
ขั
ดกั
บค�
ำอธิ
บายที่
นั
กวิ
ชาการและนั
กพั
ฒนาสถาปนาไว้
เช่
นแม่
เฒ่
าไม่
เห็
นด้
วยกั
บเรื่
องที่
ว่
า ผู้
หญิ
งสมั
ยก่
อนต้
องมี
ตี
นจกคนละผื
นกั
นทุ
กคน ซึ่
งข้
อสรุ
ปแบบนี้
กลบเกลื่
อนความเหลื่
อมล�้
ำทางชนชั้
น และเรื่
องที่
ว่าผู้หญิ
งพากเพี
ยรทอตี
นจกเพื่
อ
ให้ได้บุญไปสวรรค์ ค�
ำยืนยันของแม่เฒ่าชี้ให้เห็นว่าการทอตีนจกไม่เกี่ยวกับความ
เชื่อการไปสวรรค์แต่อย่างใด (ปราโมทย์, 2547: 228-34) ขณะเดียวกันนั
กพัฒนา
ผู้
มี
ส่
วนสถาปนาวาทกรรมผ้
าทออธิ
บายบนเวที
เดี
ยวกั
นว่
า การวิ
เคราะห์
สั
ญลั
กษณ์
ทางศาสนาในผ้าทอโดยคนนอกนั้
นอาจแตกต่างกั
บมุ
มของคนใน นั
กพั
ฒนาปะติ
ด
ปะต่
อเชื่
อมโยงแรงบั
นดาลใจทางศาสนาจากพฤติกรรมอื่นๆ ของชาวบ้
าน ไม่
ว่
า
จะเป็
นความนิ
ยมในการฟั
งเทศน์
มหาชาติ
ความนิ
ยมในการบูชาพระธาตุ
รวม
ทั้งการตีความสัญลักษณ์
บางอย่างบนลายผ้
า นั
กพัฒนาจึงสรุปว่า “การอธิบาย
ความหมายตี
นจก....ดูเป็
นเรื่
องของปรั
ชญาสูงสุ
ดที่
คนแม่
แจ่
มสามารถจรรโลงรั
กษา
สั
ญลั
กษณ์
อั
นนี้
อยู่
ได้
ทั้
งๆที่
เมื่
อคุ
ยกั
บแม่
อุ๊
ย เขาอาจถอดรหั
สตรงนี้
ไม่
ได้
...นี่
เป็
นวิ
ธี
การ approach ...ที่
ท�
ำให้ตี
นจกมั
นมี
คุ
ณค่า” (ปราโมทย์,2547: 231)
แม้
ปราโมทย์
จะมิ
ได้
ขยายความเรื่
องความลั
กลั่
นดั
งกล่
าว เพราะมุ
่
งเพี
ยง
เสนอเสี
ยงของผู้
อยู่
ชายขอบ แต่
ประเด็
นนี้
มี
ความส�
ำคั
ญมากในเชิ
งวิ
ธี
วิ
ทยาการ
ศึกษาวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ของวงการมานุษยวิทยาตั้งแต่แรกเริ่มจนปัจจุบัน
เหวี่
ยงขั้
วไปมาในเรื่
องของ “มุ
มมอง” นั
กมานุ
ษยวิ
ทยาควรมอง “คนอื่
น” จาก
มุ
มของตนเองหรื
อมุ
มของเจ้
าของวั
ฒนธรรมกั
นแน่
แนวทางแรกเห็
นว่
าผู้
ศึ
กษามี
เครื่องมือในการเจาะทะลุปรากฏการณ์ลงไปถึงความจริงที่อยู่ระดับลึกกว่าซึ่งอาจ
ไม่เป็นที่
ตระหนั
กของเจ้าของวั
ฒนธรรมนั้
นๆ (เช่นทฤษฎีโครงสร้างนิ
ยม, โครงสร้าง
หน้าที่นิยม, จิตวิเคราะห์) ส่วนแนวทางหลังให้ความส�ำคัญกับความจริงในระดับ
ประสบการณ์
ของผู้
ถูกศึ
กษา (ทฤษฎี
ปรากฏการณ์
นิ
ยมและการตี
ความ) การให้