Previous Page  50 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 50 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

49

กระจายอ�

ำนาจทางการศึ

กษาด้

วยการสนั

บสนุ

นให้

ฟื้

นฟูการถ่

ายทอดความรู้

ในแบบ

อดี

ต และเน้นให้สร้างปฏิ

สั

มพั

นธ์ระหว่างการถ่ายทอดความรู้ในระบบทางการของ

มหาวิ

ทยาลั

ยกั

บระบบภูมิ

ปัญญาแบบชาวบ้าน

อย่

างไรก็

ตาม เราจะเห็

นว่

างานวิ

จั

ยมี

พื้

นฐานวิ

ธี

คิ

ดที่

มองชาวบ้

านกั

บรั

เป็นคู่ตรงข้าม ผลก็คือ ความพยายามในการฟื้นฟูกระบวนการเรียนรู้ของอดีตนั้

ท�

ำให้

กระบวนการเรี

ยนรู้

เป็

นไปในรูปแบบที่

มี

การจั

ดตั้

ง เป็

นการเรี

ยนรู้

แบบตั้

งใจ

และจงใจ เริ่

มตั้

งแต่

มี

การเตรี

ยมกลุ

มเป้

าหมายซึ่

งมั

กเป็

นเด็

กๆ มี

การจั

ดกระบวนการ

เรี

ยนการสอนที่

เชิ

ญผู้อาวุ

โสมาสอน และการจั

ดกิ

จกรรมเสริ

มที่

หนุ

นให้ชาวบ้านมา

มี

ส่วนร่วม อย่างไรก็

ตาม บรรยากาศเหล่านี้

น่าจะแตกต่างจากกระบวนการเรี

ยนรู้

โดยธรรมชาติ

ที่

ไร้

การจั

ดตั้

ง การเรี

ยนรู้

ที่

เป็

นธรรมชาติ

ในวิ

ถี

ชี

วิ

ตที่

เคยเป็

นมา

ในอดี

ตนั้

น เป็

นการเรี

ยนรู้

แบบค่

อยเป็

นค่

อยไป เป็

นการเรี

ยนรู้

จากความเคยชิ

(habitualization) ซึ่งองค์

ความรู้และค่

านิยมทางสังคมจะค่

อยๆ ซึมเข้

าไปโดยที่ตัว

ผู้เรียนอาจไม่ทันตระหนั

ก อ�

ำนาจของวัฒนธรรมอยู่ตรงกระบวนการซึมซับโดยไม่

ตระหนั

กนี้

เอง งานวิ

จั

ยที่

ผู้

วิ

จั

ยตั้

งใจจั

ดกิ

จกรรมฟื

นฟูต่

างๆ ขึ้

นมามั

กไม่

ใส่

ใจว่

กระบวนการเรี

ยนรู้

ทางวั

ฒนธรรมที่

ทรงพลั

งเป็

นกระบวนการเรี

ยนรู้

แบบไม่

ตระหนั

เสียมากกว่า นอกจากนั้

นก็อาจไม่ตระหนั

กอีกว่า กระบวนการจัดตั้งดังกล่าวนั้

นก็

เป็นกระบวนการอ�

ำนาจของการเลือกสรรที่อาจท�

ำให้งานศิลปะบางอย่างถูกเลือก

และคนบางกลุ่

มถูกก�

ำหนดเป็

นกลุ่

มเป้

าหมาย การจั

ดการสอนให้

เป็

นกิ

จกรรมพิ

เศษ

เฉพาะกิ

จท�

ำให้

เกิ

ดความเป็

นทางการในระดั

บหนึ่

ง และการเน้

นความรู้

ว่

าเป็

นเรื่

องที่

จะถูก “ถ่

ายทอด” ก็

ท�

ำให้

กระบวนการเรี

ยนรู้

มี

แนวโน้

มที่

อาจเป็

นไปในทิ

ศทางเดี

ยว

คื

อการถ่

ายโอนจากผู้

รู้

สู่

ผู้

เรี

ยน ซึ่

งอาจลดทอนความส�

ำคั

ญของความรู้

ที่

เกิ

ดจากการ

ประดิษฐ์ด้วยตนเอง หรื

อการเปิดพื้

นที่

แก่การคิ

ดให้ผิ

ดแผกไปจากที่

ได้รั

บถ่ายทอด

มา โดยสรุ

ป ก็

คื

อ แม้

การวิ

จั

ยลั

กษณะนี้

จะมี

เจตนาดี

ที่

จะให้

เกิ

ดการกระจายอ�

ำนาจ

ในการบริ

หารการศึ

กษาซึ่

งเป็

นวิ

ธี

คิ

ดที่

ท้

าทายการรวมศูนย์

อ�

ำนาจ แต่

ถ้

าหากไม่

ระวั

ก็

อาจแปรรูปไป เป็นการสร้างกระแสพลั

งอนุ

รั

กษ์นิ

ยมในระดั

บจุ

ลภาคขึ้

นมาก็

ได้