Previous Page  52 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 52 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

51

พระธาตุ

ในเขตสยามประเทศออกจากระบบจั

กรวาลอั

นศั

กดิ์

สิ

ทธิ์

นี่

เท่ากั

บเป็นการ

ท้

าทายเชิงสั

ญลักษณ์

ต่

อการแผ่

อิ

ทธิ

พลและอ�

ำนาจของสยามเหนื

อหั

วเมื

องต่

างๆ

ในยุคสมัยช่วงกลางของรัตนโกสินทร์

จุดเด่

นของงานชิ้นนี้

คือน�

ำเอาประเพณีและ

พิ

ธี

กรรมทางศาสนาที่

ดูจะไม่

เกี่

ยวข้

องใดๆ กั

บการเมื

องมาอ่

านใหม่

จากมุ

มมองของ

การเมื

องเชิ

งพื้

นที่

(geopolitics)

นอกจากความสั

มพันธ์

เชิงอ�

ำนาจระหว่

างต่

างเผ่

าพั

นธุ

หรือต่

างรัฐแล้

ว ยัง

มีการศึกษาความสัมพั

นธ์

เชิ

งอ�

ำนาจระหว่

างเพศด้

วย โขมสี (2548) ศึกษาความ

รุ

นแรงในปั

ญญาสชาดกฉบับล้

านนาโดยชี้

ให้

เห็

นความอยุ

ติ

ธรรมที่

สามีกระท�

ำต่

ภรรยา และความมุ่งมั่นของตัวเอกหญิง ที่ไม่ยอมจ�

ำนนต่อชะตากรรม พยายาม

ร�่ำเรียนอาคมซึ่งเป็นพื้นที่วัฒนธรรมของชาย จนสามารถท�ำสงครามชนะสามีเก่า

ได้ โขมสีอ่

านชาดกเรื่องนี้

ควบคู่กับการวิเคราะห์มังรายศาสตร์ และพระไตรปิ

ฎก

ตลอดจนมนูธรรมศาสตร์

ของฮิ

นดูโบราณ จนได้

ข้

อสรุ

ปถึ

งความลั

กลั่

นเกี่

ยวกั

ผู้หญิงในคัมภีร์เหล่

านี้ ด้

านหนึ่

ง แม้จะมีข้อความปกป้

องคุ้มครองสิทธิบางอย่าง

ของผู้หญิ

ง แต่เมื่

อดูละเอี

ยดลงไปก็

พบว่ามี

การให้ความคุ้มครองเพศทั้

งสองไม่เท่า

เที

ยมกั

น หากมี

การท�

ำผิ

ดเหมื

อนกั

น ผู้หญิ

งจะต้องโทษหนั

กกว่าผู้ชายเช่นเรื่

องการ

คบชู้หรื

อการฆ่าคู่ครองตน

งานวิจัยที่ได้อิทธิพลทฤษฎีหลังสมัยใหม่นั้

น มักสนใจเสียงของผู้ถูกศึกษา

โดยเฉพาะกลุ

มที่

เป็

นคนชายขอบ วิ

ทยานิ

พนธ์

ของปราโมทย์

(2547) ที่

ศึ

กษาเรื่

องผ้

าทอ

แม่

แจ่

มก็

เป็

นอี

กตั

วอย่

างหนึ่

งของการใส่

ใจกับเสี

ยงที่

ถูกกลบหาย ผู้

วิจั

ยพยายาม

ชี้

ให้

เห็

นว่

าวาทกรรมของผ้

าทอมี

หลายชุ

ด ซึ่

งอาจซ้

อนเหลื่

อมและขั

ดแย้

งกั

นก็

ได้

ความขั

ดแย้

งนี้

ทวี

เข้

มข้

นขึ้

นภายในบริ

บทที่

แม่

แจ่

มถูกท�

ำให้

กลายเป็

นศูนย์

กลางการ

ท่

องเที่

ยว นั

กวิ

ชาการและนั

กพั

ฒนาเอกชนจ�

ำนวนหนึ่

งพยายามต้

านกระแสโลกานุ

วั

ติ

ด้

วยการสถาปนาวาทกรรมให้

ซิ่

นตี

นจกแม่

แจ่

มกลายเป็

นสั

ญลั

กษณ์

ของ “ความเป็

ล้

านนาดั้

งเดิ

ม” ที่

ผูกไว้

กั

บความเชื่

อในพุ

ทธศาสนาและภาพอดี

ตที่

งดงามกลมเกลี

ยว

แม้วาทกรรมท้องถิ่นนิยมดังกล่าวต้องการต้านกระแสโลกานุวัติ แต่ผลกลับกลาย

เป็

นการกระพื

อความนิ

ยมการท่

องเที่

ยวแม่

แจ่

มให้

เข้

มข้

นขึ้

น และชาวบ้

านกลุ