44
กำ�กึ๊ดกำ�ปาก
มนุ
ษย์
ในฐานะผู้
กระท�
ำการทางสั
งคม ผู้
วิ
จั
ยงานทั้
ง 4 ชิ้
นที่
กล่
าวมาต่
างจึ
งพยายาม
แก้
ไขจุ
ดอ่
อนทางทฤษฎี
ดั
งกล่
าวด้
วยการผสานแนวทฤษฎี
ที่เน้
นบทบาทมนุษย์
ใน
แบบต่างๆ กัน งานเรื่องผ้าชาวลาวของชนิ
ดาผนวกเอาประเด็นเรื่องผ้าในฐานะที่
เป็นสิ่
งผลิ
ตและกระบวนการผลิ
ตซ�้
ำอั
ตลั
กษณ์ของเพศหญิ
ง ซึ่
งได้อิ
ทธิ
พลจากแนว
การวิ
เคราะห์
เรื่
องผ้
าอี
สานของสุ
ริ
ยา (2536) ที่
เห็
นกระบวนการผลิ
ตผ้
าเป็
นเรื่
องของ
พิ
ธี
กรรมเปลี่
ยนผ่
านจากเด็
กไปสู่
ความเป็
นสาว นั
บเป็
นการเน้
นบทบาทของผู้
หญิ
งใน
กระบวนการผลิ
ตและบริ
โภค ส่วนงานจิ
ตรกรรมฝาผนั
งของปริ
ตตา พยายามผสาน
แนวคิ
ดของคลิ
ฟฟอร์
ด เกิ
ร์
ซต์
(Geertz) และแนวคิ
ดของ เบซิ
ล เบิ
ร์
นสไตน์
(Berstein)
ที่
เน้
นบทบาทของปั
จเจกในฐานะผู้
ใช้
รหั
สทางวั
ฒนธรรม การวิ
เคราะห์
จึ
งรวมถึ
งการ
ศึกษาโลกทัศน์
และธรรมเนี
ยมในหมู่
ช่
างด้
วย ส�
ำหรับการศึกษานิ
ทานของศิราพร
มี
การน�
ำเสนอวิ
ธี
วิ
ทยาแบบใหม่
ในการวิ
เคราะห์
ต�
ำนานที่
เรี
ยกว่
า “การแสดง”
(performance) ซึ่
งเน้
นการเล่
านิทานสดๆ ให้
แก่
กลุ
่
มผู้
ฟั
ง เพื่
อท�
ำให้
เห็
นว่
าเมื่
อ
“ตั
วบท” ถูกน�ำเสนอในสถานการณ์
ที่
เกี่
ยวข้
องกั
บคน จะเกิ
ดการตี
ความที่
ท�
ำให้
ตัวบทมีชีวิต เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เล่า ตัวบท และผู้ฟังอย่างไร การเน้นเรื่อง
การสื่อสารและการตี
ความท�
ำให้
จุ
ดเน้
นของการศึ
กษาอยู่
ที่
เหตุ
การณ์
ของการเล่
า
นิ
ทาน (storytelling event) มากกว่าตั
วนิ
ทานเอง นอกจากนั้
นมี
งานของปฐม (2552)
ที่
ตี
ความนิ
ทานค�
ำโคลงล้
านนาเกี่
ยวกั
บผู้
หญิ
งรั
กพระที่
จบลงด้
วยความตายของพระ
ผู้
วิ
จั
ยเลื
อกใช้
สั
ญวิ
ทยา (semiology) มาอ่
านเพื่
อแก้
ไขจุ
ดอ่
อนของโครงสร้
างนิ
ยมที่
ไม่
สนใจความสั
มพั
นธ์
เชิ
งอ�
ำนาจทางอุ
ดมการณ์
ปฐมอ่
านนิ
ทานเสี
ยใหม่
ว่
าความตาย
ของพระมิใช่บทลงโทษทางศีลธรรมต่อพระที่หลงรักหญิงสาว หากแต่เป็นชัยชนะ
ของผู้หญิ
งและความรั
กที่
ก้าวข้ามพรมแดนทางชนชั้
น ศาสนาและปิตาธิ
ปไตย
นอกจากนี้ ยังมีงานวิจัยบางชิ้นที่แม้จะอาศัยกรอบคิดแบบโครงสร้างนิยม
แต่
ก็
ใช้
ข้
อมูลที่
ได้
จากภาคสนามของตน บวกกั
บข้
อสรุ
ปของข้
อมูลจากสาขาวิ
ชาการ
อื่
นมาสนทนาปะทะสั
งสรรค์กั
บทฤษฎี
อื่
นๆ อย่างมี
ชี
วิ
ตชี
วา งานศึ
กษาเรื่
องบ้านใน
เขตเอเชี
ยตะวั
นออกเฉียงใต้
ส่
วนที่
เป็
นทั้
งแผ่
นดิ
นใหญ่
และหมู่
เกาะของโรซานา
วอเทอร์
สั
น (Waterson,1990) นั้
น ในบทแรกได้
ใช้
ข้
อมูลจากนั
กนิ
รุ
กติ
ศาสตร์
ที่
ศึ
กษา
รากเหง้
าพั
ฒนาการของภาษาต่
างๆ มาศึ
กษาหา “จุ
ดเริ่
ม” หรื
อจุ
ดก�
ำเนิ
ดร่
วมกั
นของ