Previous Page  40 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 40 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

39

หทั

ยวรรณ, 2542, ลมูล, 2538) เป็นต้น จุ

ดที่

คล้ายกั

นของระเบี

ยบวิ

ธี

วิ

จั

ยในกลุ่ม

นี้ก็

คื

อ การเก็

บข้

อมูลเชิ

งพรรณนา (descriptive) โดยแจกแจงรายละเอี

ยดของ

องค์

ประกอบศิ

ลปะแขนงนั้

นๆ เพื่

อตอบค�

ำถามประเภท what เกี่

ยวกั

บโครงสร้

างและ

องค์ประกอบทางศิ

ลปะแขนงนั้

นๆ เสี

ยเป็นส่วนใหญ่ เช่น ลั

กษณะฉั

นทลั

กษณ์ของ

บทกลอน รูปแบบของดนตรี

ทั้

งด้านเนื้

อหาและโครงสร้างของระบบโน้ต โครงสร้าง

ของลายผ้

าและเทคนิ

คการทอผ้

ามี

ลั

กษณะอย่

างไร เป็

นต้

น ในแง่

นี้

ผู้

วิ

จั

ยมุ

งให้

ข้อมูลอธิบายตัวมันเอง นั่

นก็คือรายละเอียดวิเคราะห์เชิงพรรณนาท�ำให้เราเข้าใจ

โครงสร้

างภายในของศิ

ลปะนั้

นๆ วิ

ธี

วิ

เคราะห์

เช่

นนี้

มองงานศิ

ลป์

ในลั

กษณะ system

thinking คือมองเห็นตัวงานศิลป์เป็นคล้ายระบบปิด ที่มีระเบียบภายในและความ

เชื่

อมโยงกั

นขององค์ประกอบภายในระบบนั้

นๆเอง

อย่

างไรก็

ตาม แม้

หน่

วยการวิ

เคราะห์

(unit of analysis) จะอยู่

ที่

ตั

องค์

ประกอบของงานศิ

ลป์

เป็

นส่

วนใหญ่

แต่

ก็

มี

ความพยายามที่

จะเชื่

อมโยงงาน

ศิ

ลปะแขนงนั้

นๆ เข้

ากั

บวิ

ถี

ชี

วิ

ต ความเป็

นอยู่

และประเพณี

ของชาวบ้

าน หรื

ออี

กนั

ยหนึ่

พยายามน�

ำเสนอโดยให้

ศิ

ลปะเป็

นส่

วนหนึ่

งของวั

ฒนธรรมมากกว่

าที่

จะแยกกล่

าวถึ

เฉพาะตั

วศิ

ลปะนั้

นๆ วิ

ธี

การเชื่

อมโยงนั้

นใช้

ทั้

งการศึ

กษาเปรี

ยบเที

ยบ เช่

นงานศึ

กษา

เรื่

องโคลงค�

ำสอนล้

านนา 2 ชิ้

นซึ่

งผู้

วิ

จั

ยพยายามเพิ่

มมิ

ติ

ของการศึ

กษาเปรี

ยบเที

ยบ

ชิ้

นแรกคื

อ งานของทรงศั

กดิ์

และหทั

ยวรรณ (2542) น�

ำวรรณกรรมประเภทโคลงของ

ล้านนามา 5 เรื่

องศึ

กษาเปรี

ยบเที

ยบในแง่ ส�

ำนวนโวหาร และเนื้

อหาตลอดจนวิ

ธี

การสอนจริ

ยธรรม พบความคล้ายคลึ

งที่

ชี้

ให้เห็

นว่าทั้

ง 5 เรื่

องน่าจะมี

ที่

มาจากเรื่

อง

เดี

ยวกั

น ส่

วนงานก่

อนหน้

านั้

นของลมูล (2538) ศึ

กษาเปรี

ยบเที

ยบสุ

ภาษิ

ตล้

านนากั

ไทลื้

อ เปรี

ยบเที

ยบทั้

งด้

านโครงสร้

างประโยคและวลี

ที่

ใช้

การใช้

ค�

ำศิ

ลปะการประพั

นธ์

ตลอดจนเนื้

อหาของสุ

ภาษิ

ต พบความคล้

ายกั

นทั้

งในด้

านโครงสร้

างและเนื้

อหา ชี้

ให้

เห็

นลั

กษณะของทั

ศนคติ

ทางสั

งคม ปรั

ชญาและศี

ลธรรมที่

คล้

ายกั

น ในแง่

นี้

ดูผู้

วิ

จั

งานทั้

งสองชิ้

นจะมี

สมมติ

ฐานลึ

กๆ ว่

า การศึ

กษาเปรี

ยบเที

ยบจะช่

วยให้

ค้

นพบ

เอกลั

กษณ์

ทางวั

ฒนธรรมร่

วมกั

นของผู้

คนในแถบนี้

ได้

ผู้

วิ

จั

ยจึ

งมี

สมมติ

ฐานลึ

กๆ

ในเรื่

อง แก่

นแกนร่

วมกั

นทางวั

ฒนธรรม อย่

างไรก็

ตามการศึ

กษาวิ

เคราะห์

ที่

“เนื้

อหา”