Previous Page  253 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 253 / 272 Next Page
Page Background

252

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

ด้

วยคติ

ความเชื่

อท้

องถิ่

นเรื่

องอ�

ำนาจศั

กดิ์

สิ

ทธิ์

เพื่

อเสริ

มบารมี

ให้

กั

บตนเองในการ

จั

ดการระบบเหมื

องฝายซึ่

งเกี่

ยวข้องกั

บผู้คนจ�

ำนวนมาก เพื่

อให้เกิ

ดความยุ

ติ

ธรรม

ในการจั

ดสรรน�้

ำ ที่

เริ่

มขั

ดแย้

งกั

นอย่

างมาก เมื่

อชาวบ้

านหั

นไปผลิ

ตเชิ

งพาณิ

ชย์

อย่างเข้มข้นมากขึ้

ในช่

วงทศวรรษที่

2540 นั้น มี

การศึ

กษาพลั

งภูมิ

ปั

ญญาในการจั

ดการ

ทรั

พยากรธรรมชาติ

กั

นจ�

ำนวนมากอย่

างคึ

กคั

ก เริ่

มจากงานวิ

จั

ยของวั

นเพ็

สุ

รฤกษ์

(2543) ซึ่

งศึ

กษาภูมิ

ปั

ญญาในการจั

ดการระบบเหมื

องฝายของชาวนา

ในพื้นราบภาคเหนือ ส่วน สุรินทร์ อ้นพรหม (2543) ก็น�

ำเสนอให้เห็นภูมิปัญญา

พื้นบ้านในการท�

ำแนวกันไฟและการชิงเผาเพื่อป้องกันไฟป่า และงานของ เสถียร

ฉั

นทะ (2543) เรื่

อง ภูมิ

ปัญญาท้องถิ่

นในการจั

ดการความหลากหลายทางชี

วภาพ

พื

ชสมุ

นไพรของชาวไทลื้

อ เป็นต้น

นอกจากนั้

นยั

งมี

งานศึ

กษาอี

กจ�

ำนวนมาก เช่

น ยศ สั

นตสมบั

ติ

(2542)

เป็

นบรรณาธิ

การในการรวมบทความที่

เป็

นภูมิ

ปั

ญญาในด้

านต่

างๆ ของกลุ

ชาติพันธุ์ที่หลากหลาย ผู้เขียนน�

ำเสนอภาพรวมตามแนวทางนิเวศวิทยาชาติพันธุ์

และงานของ อุ

ดมลั

กษณ์ ฮุ่นตระกูล (2547, 2548) ศึ

กษาการตั้

งถิ่

นฐานของกลุ่ม

ชาติ

พั

นธุ์บนพื้

นที่

สูงในอ�

ำเภอปางมะผ้า จั

งหวั

ดแม่ฮ่องสอน และการใช้ภูมิ

ปัญญา

พื้

นบ้านในการจั

ดการทรัพยากรธรรมชาติ

เป็นต้น

ส�

ำหรั

บงานศึ

กษาพลั

งภูมิ

ปั

ญญาในการจั

ดการทรั

พยากรธรรมชาติ

ในบทความภาษาอั

งกฤษก็

มี

มากเช่

นเดี

ยวกั

นตั

วอย่

างเช่

น บทความของ Leo Alting

von Geusau (1993) ศึ

กษาความสามารถของกลุ

มชาติ

พั

นธุ

บนพื้

นที่

สูง ในการ

รักษาระบบนิเวศในภาคเหนือของไทย เมื่อต้องเผชิญกับแรงกดดันต่างๆ มากขึ้น

ขณะที่

บทความของ Philip Dearden และ Chusak Wittayapak (1999) พบว่

า ศั

กยภาพ

ของการจั

ดการลุ่

มน�้ำบนฐานชุ

มชนนั้

น ขึ้

นอยู่

กั

บความสามารถของชาวบ้

านในการ

ตั

ดสิ

นใจตามคติ

ในท้

องถิ่

น ส่

วนบทความของ Santita Ganjanapan (1997) ชี้

ให้

เห็

นว่

ระบบการจัดจ�ำแนกประเภทป่าและที่ดินของชนพื้นเมืองมักจะสอดคล้องมากกว่า

ขั

ดแย้งกับหลั

กทางวิ

ทยาศาสตร์