งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ
249
ต่
อมาแปลเป็
นไทยในชื่
อ “การเปลี่
ยนแปลงอ�
ำนาจและสถานะของหมอเมื
องในพิ
ธี
รั
กษาโรคพื้
นบ้านล้านนา” (อานั
นท์ 2555: 157-188) ผู้เขี
ยนได้เสนอข้อถกเถี
ยงว่า
ความรู้
ของหมอพื้
นบ้
านที่
เรี
ยกว่
า “หมอเมื
อง” ยั
งมี
ส่
วนส�
ำคั
ญในการดูแลรั
กษาโรค
ที่
การแพทย์สมั
ยใหม่ยั
งรั
กษาไม่ได้ผลดี
นั
ก โดยเฉพาะโรคที่
มี
ความซั
บซ้อน เพราะ
มี
สาเหตุ
มากกว่
าด้
านชี
วภาพ ซึ่
งมั
กจะเกี่
ยวข้
องกั
บปั
ญหาทางสั
งคมและจิ
ตใจ
ในการปรั
บตั
วต่
อการเปลี่
ยนแปลงทางสั
งคมและวั
ฒนธรรมสมั
ยใหม่
ผ่
าน
การปรั
บเปลี่
ยนสถานภาพหมอเมื
อง ด้
วยการที่
พวกเขาจะหั
นไปเน้
นอ�
ำนาจศั
กดิ์
สิ
ทธิ์
ในพิ
ธี
กรรมมากกว่
าภูมิ
ปั
ญญาด้
านสมุ
นไพรเท่
านั้
น ซึ่
งก็
สอดคล้
องกั
บข้
อค้
นพบ
ในวิ
ทยานิ
พนธ์ของ ธวัช มณี
ผ่อง (2546) เรื่
อง ‘กระบวนการสร้างความรู้ชายขอบ
ในวิ
กฤตการณ์สุ
ขภาพ: กรณี
ศึ
กษาส�
ำนั
กทรงแห่งหนึ่
งในจั
งหวั
ดเชี
ยงใหม่’ ที่
แสดง
ให้
เห็
นว่
า ชาวบ้
านหั
นเข้
าพึ่
งอ�ำนาจศั
กดิ์
สิ
ทธิ์
ในการแก้
ปั
ญหาสุ
ขภาพในยามวิ
กฤต
มากขึ้
น
เมื่
อสั
งคมภาคเหนื
อต้
องเผชิ
ญกั
บวิ
กฤตการณ์
โรคเอดส์
ตั้
งแต่
ปลายทศวรรษ
ที่
2520 จนกลายเป็นปัญหาด้านสุ
ขภาพที่
มี
ความซั
บซ้อนอย่างมาก ในช่วงปลาย
ทศวรรษที่
2530 นั้
นเองก็
เริ่
มมี
งานวิ
จั
ยที่
สนใจพลั
งและศั
กยภาพของภูมิ
ปั
ญญา
พื้
นบ้
านในการช่
วยแก้
ปั
ญหาดั
งกล่
าวงานวิ
จั
ยที่
น่
าสนใจเรื่
องหนึ่
งก็
คื
อ
รายงาน
การวิจัยการรักษาผู้ติดเชื้อเอดส์ด้วยการปฏิบัติธรรม: ศึกษากรณีวัดดอยเกิ้ง
อ�ำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ของ จิ
ราลั
กษณ์ จงสถิ
ต์มั่
น (2538) ซึ่
ง
พบว่าผู้ติ
ดเชื้
อเอดส์ไม่ได้พึ่
งพาการแพทย์สมั
ยใหม่อย่างเดี
ยว แต่พวกเขาพยายาม
ดิ้
นรนต่
อสู้
และหั
นมาแสวงหาการแพทย์
ทางเลื
อกมากขึ้
น ด้
วยการน�
ำพิ
ธี
กรรม
ในพุ
ทธศาสนา เช่น การท�
ำสมาธิ
หมุ
น มาช่วยเสริ
มจิ
ตใจให้เข้มแข็
ง
ขณะที่
หนั
งสื
อของ รั
งสรรค์ จั
นต๊ะ (2547) เรื่
อง
ภูมิปัญญาพื้นบ้าน: มิติ
ทางวัฒนธรรมในการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ในภาคเหนือของ
ประเทศไทย
ได้
เริ่
มศึ
กษาให้
เห็
นถึ
งพลั
งและศั
กยภาพของภูมิ
ปั
ญญาพื้
นบ้
าน
ด้
านการรั
กษาพยาบาลในการน�
ำมาใช้
จั
ดการกั
บผู้
ติ
ดเชื้
อ HIV/AIDS ในฐานะที่
เป็
นระบบการรั
กษาพยาบาลทางเลื
อกแทนระบบการแพทย์
สมั
ยใหม่
โดยพบว่
า