Previous Page  249 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 249 / 272 Next Page
Page Background

248

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

and the Understanding of the Lanna Thai Cultures and Histories” ซึ่

งไปน�

ำเสนอ

ในการประชุ

มทางวิ

ชาการนานาชาติ

ว่าด้วยไทยศึ

กษา ครั้

งที่

9 ณ Northern Illinois

University ผู้

เขี

ยนได้

รวบรวมต�

ำรั

บยาสมุ

นไพรที่

ใช้

ในกลุ

มชาติ

พั

นธุ

ต่

างๆ ในภาคเหนื

ของไทยไว้

ได้

จ�

ำนวน 103 ต�

ำรั

บ ทั้

งยั

งได้

เสนอแนะให้

มี

การอนุ

รั

กษ์

ภูมิ

ปั

ญญา

ด้

านการแพทย์

พื้

นบ้

าน ตลอดจนความเข้

าใจในความเป็

นมาทางประวั

ติ

ศาสตร์

และ

วั

ฒนธรรมของชุ

มชนกลุ่มชาติ

พั

นธุ์ต่างๆ ด้วย

หลั

งจากปี

พ.ศ. 2547 พบว่

ามี

งานศึ

กษาวิ

จั

ยเกี่

ยวกั

บภูมิ

ปั

ญญาด้

านสุ

ขภาพ

และการแพทย์พื้นบ้านจ�

ำนวนมาก ซึ่งส�ำรวจได้จ�ำนวน 10 เรื่อง และหลายเรื่อง

ในจ�

ำนวนนี้

เป็

นการศึ

กษาระบบภูมิ

ปั

ญญาด้

านการแพทย์

ของชนเผ่

าพื้

นเมื

อง

ในระดับชุมชน ด้วยการพรรณนาภูมิปัญญาดังกล่าวอย่างถึงละเอียดดังตัวอย่าง

เช่

น ทรงวิ

ทย์

เชื่

อมสกุ

ล (2547) ศึ

กษามโนภาพเกี่

ยวกั

บ “กลั๊

งชั่

ว” (ผี

ยา) ของชาวม้

ขณะที่

สมเกี

ยรติ

จ�

ำลอง (2547) ศึ

กษาทั้

งภูมิ

ปั

ญญาด้

านการจั

ดการทรั

พยากร

ธรรมชาติ

และการแพทย์

พื้

นบ้

านของชาวเมี่

ยนและ ทวิ

ช จตุ

วรพฤกษ์

(2547) ศึ

กษา

บทบาทของหมอยาชาวลีซู ส่วน อุไรวรรณ แสงศร (2547) ศึกษาระบบการดูแล

สุ

ขภาพของชาวอ่

าข่

า และ วิ

เชี

ยร อั

นประเสริ

ฐ (2547) ศึ

กษาระบบการจั

ดการ

ทรั

พยากรธรรมชาติ

และการดูแลสุขภาพของชาวกะเหรี่

ยง

ส�

ำหรั

บงานวิ

จั

ยเชิ

งวิ

เคราะห์

และสร้

างข้

อถกเถี

ยงได้

อย่

างน่

าสนใจนั้

จะเห็

นได้

จากบทความของ โกมาตร จึ

งเสถี

ยรทรั

พย์

และราตรี

ปิ

นแก้

ว (2547)

ซึ่

งได้

วิ

เคราะห์

ให้

เห็

นว่

า การแพทย์

แผนตะวั

นตกในฐานะตั

วแทนของอ�ำนาจรั

ขยายอิทธิพลเข้ามาเบียดขับการแพทย์พื้นบ้านในชุมชนม้งและในท�ำนองเดียวกัน

ก็

คื

อบทความของจุ

งโกะ อี

ดะ (2547) ก็

ได้

วิ

เคราะห์

ถึ

งอ�

ำนาจของการแพทย์

แผนใหม่

อั

นเป็

นอุ

ดมการณ์

ของรั

ฐที่

เข้

ามาส่

งผลต่

อการแพทย์

พื้

นบ้

านโดยศึ

กษาผ่

านการนวด

พื้

นบ้าน นอกจากนั้

นยั

งมี

การศึ

กษาภาพรวมของการเปลี่

ยนแปลงระบบการแพทย์

ในภาคเหนื

อของ มาลี

สิ

ทธิ

เกรี

ยงไกร (2545)

ขณะที่

งานวิ

จั

ยของอานั

นท์

กาญจนพั

นธุ

ในบทความเรื่

อง “Changing Power

and Positions of Mo Muang in Northern Thai Healing Rituals” (Anan 2000) ซึ่