Previous Page  251 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 251 / 272 Next Page
Page Background

250

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

ผู้

ติ

ดเชื้

อเอดส์

ได้

พยายามผสมผสานภูมิ

ปั

ญญาพื้

นบ้

านอื่

นๆ อี

กมากมายในการดูแล

ตั

วเอง เพราะพวกเขาส่วนใหญ่ยั

งเข้าถึ

งระบบการแพทย์สมั

ยใหม่ได้ยาก

นอกจากนั้นยั

งมี

งานวิ

จั

ยที่

พยายามจะศึ

กษาการรั

กษาทางเลื

อกที่

ใช้

กั

โรคอื่

นๆ อี

กด้วย เช่น วิ

ทยานิ

พนธ์ของ Hunsa Payomyong Sethabouppha (2002)

เรื่

อง ‘Buddhist Family Care Giving: A Phenomenological Study of Family Caregiving

to the Seriously Mentally Ill in Thailand’ ได้พบว่า ส�ำหรั

บโรคด้านจิ

ตใจร้ายแรงนั้

การดูแลรั

กษาของครอบครั

วตามคติ

ในพุ

ทธศาสนานั้

นเป็

นพลั

งส�ำคั

ญในการช่

วย

เยี

ยวยาได้มากกว่าการรั

กษาในระบบการแพทย์สมั

ยใหม่

ส่วนบทความวิจั

ยเรื่

อง “(Re)placing health and health care: mapping the

competing discourses and practices of ‘traditional’ and ‘modern’ Thai medicine”

(Del Casino Jr. 2004) ก็

ได้

ชี้

ให้

เห็

นว่

า การเคลื่

อนไหวของกลุ

มผู้

ติ

ดเชื้

อเอชไอวี

ลั

กษณะต่

างๆ นั้

นเป็

นส่

วนหนึ่

งของการช่

วงชิ

งพื้

นที่

ของชุ

ดความรู้

ที่

แตกต่

างกั

ระหว่

างการรั

กษาพยาบาลพื้

นบ้

านกั

บการแพทย์

สมั

ยใหม่

ซึ่

งพบว่

า หลั

งวิ

กฤติ

การณ์

โรคเอดส์

ได้

มี

การรื้

อฟื

นการรั

กษาโรคแบบจารี

ตขึ้

นมาใหม่

กั

นอย่

างคึ

กคั

ก เพื่

ช่

วยดูแลสุ

ขภาพของผู้

ติ

ดเชื้

อเอชไอวี

และแสดงนั

ยของการท้

าทายอ�

ำนาจของ

วาทกรรมการแพทย์

สมัยใหม่

หลังจากที่เคยผูกขาดการดูแลสุขภาพในสังคมไทย

มาอย่างช้านาน

5.4 พลังภูมิปัญญากับพลวัตของการจัดการ

ทรัพยากรธรรมชาติและการเกษตร

ความสนใจศึ

กษาด้

านพลั

งความคิ

ดและภูมิ

ปั

ญญาในภาคเหนื

ออั

นดั

บถั

ดมา

คื

อ ภูมิ

ปั

ญญาในการจั

ดการทรั

พยากรธรรมชาติ

ซึ่

งสามารถส�

ำรวจและรวบรวม

ออกมาได้

จ�

ำนวน 25 รายการ ก่

อนหน้

าปี

พ.ศ. 2538 ยั

งไม่

ค่

อยเห็

นงานเขี

ยน

เผยแพร่ในด้านนี้

มากนั

ก แต่นั

บจากปี พ.ศ. 2538 เป็นต้นมา มี

การผลิ

ตงานเขี

ยน